Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง - Coggle Diagram
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
ระบบไหลเวียนเลือด
องค์ประกอบ
หลอดเลือด
ดำ บางกว่าหลอดเลือดแดง มีลิิ้นนป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ มีหน้าที่น าเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ
ฝอยเล็ก ละเอียดมาก ผนังบางมาก มีหน้าทีนำเลือดแดงจากหลอดเลือดแดงไปเลี้ยงร่างกาย และนำเลือดดำจากเซลไปยังหลอดเลือดดำ
แดงลักษณะหนา ยืดหยุ่นดี ไม่มีลิ้นกั้น ท าหน้าที่นำเลือดออก
จากหัวใจไปยังเส้นเลือดฝอย
เลือด มีหน้าที่ลำเลียงอาหารไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ประกอบด้วย
เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด
หัวใจ
การบีบตัวเป็นจังหวะ ระยะบีบตัวเรียกว่า Systole
ระยะคลายตัวเรียก diastole
สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย
เลือดจะไหลไปในทิศทางเดียวกันไม่ไหลย้อน ลิ้นหัวใจกั้นไว้
โรคหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญ
โรคจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
การติดเชื้อที่ส่วนต่างๆของหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โป่งพอง
เจ็บหน้าอก
ตีบ
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
Coronary artery disease
ภาวะหัวใจวาย
MI ,Cardiac arrest
Shock ,Cardiac temponade
โรคระบบไหลเวียนที่สำคัญ
โรคของหลอดเลือดดำและแดง
เส้นเลือดดำขอด
หลอดเลือดแดงอักเสบ
Hypertension
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจและระบบไหลเวียน
การตรวจร่างกาย
ตรวจท้อง เช่น ท้องอืด คล าตับ
เคาะตับดูภาวะตับโตในผู้ป่วยหัวใจห้องล่างขวาวาย
ดู คลำและฟัง การเคาะอาจ
ใช้ตรวจขนาดหัวใจ(ปัจจุบันไม่นิยม)
การซักประวัต
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน-อดีต
แบบแผนการดำเนินชีวิต
อาการสำคัญ
ข้อมูลส่วนตัว
การได้รับยา ครอบครัว การทำงาน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
การตรวจรังสี/อื่น ๆ
อาการ
หายใจลำบาก/เร็ว
ใจสั่น (Palpitation)
เจ็บหน้าอก(Chest pain)
เป็นลม (Syncope)
อ่อนล้า (Fatigue)
บวม (Edema)
เขียว(Cyanosis)
ปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือด/การรักษา
Heart attack
รักษาด้วยยา
Coronary angioplastry
(CABG)
Stroke
รักษาด้วยยา
การผ่าตัดเอา Plaugeออกจากหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอCarotidendarterectomy (PDF)
ผ่าตัดเอาก้อนเลือดออกจากสมอง
Arrhythmia
รักษาด้วยยา
ใส่ Pacemaker
Heart valve problem
การรักษา
ผ่าตัดซ่อมแซมหรือเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (Surgery)
รักษาด้วยยา (Medication)
โรคเกี่ยวกับหัวใจ
ภาวะหัวใจวาย
ไม่สามารถบีบลือดไปเลี้ยงทั่ว
ร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
หัวใจทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ
โรคร่วมเรื็อรังอื่น ๆ
พยาธิสภาพ
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
Cardiac outputเพิ่มขึ้นในการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง บีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
หลอดเลือดแดงหดตัว
กล้ามเนื้อหัวใจหนา และแข็ง โตขึ้นโดยเฉพาะห้องล่างซ้าย
น้ำและเกลือคั่งในร่างกาย
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจห้องล่างเวนตริเคิลวายด้านซ้าย-ขวา
ซ้าย ทำให้เวนตริเคิลซ้ายไม่สามารถบีบเลือดออกมาได้เต็มที่ เลือดคั่งที่ปอดเกิดน ้าท่วมปอด
ขวา เวนตริเคิลขวาไม่สามารถส่งเลือด
ไปฟอกที่ปอดได้ทำให้มีเลือดดำคั่งในระบบไหลเวียน
ภาวะหัวใจวายเฉียบพลันและเรื้อรัง
เฉียบพลัน เกิดจากปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลงทันทีทันใด ทำให้
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไปเลียงลดลงอย่างรวดเร็ว
เรื้อรัง เกิดจากการที่ร่างกายปรับตัวต่อปริมาตรเลือดที่อออกจากหัวใจลดลง มีการคั่งของน้ำในรางกาย
อาการ
เหนื่อยง่าย
มึนศีรษะ วิงเวียน สับสน
บวม
ปัสสาวะน้อยลง
ซีด เขียวคล้ำ
การป้องกัน
ควบคุมระดับความดันโลหิตและปัจจัยสี่ยงอื่นๆ
การรักษาแต่เนิ่น ๆ
การพยาบาลหลังผ่าตัดหัวใจ
ลดกิจกรรมที่ท าให้หัวใจทำงานมากขึ ้น
ปรับพฤติกรรมและจัดการภาวะเสี่ยงต่าง ๆ
ให้ยาที่ท าให้หลอดเลือดหดตัว
บริหารยา
ประเมินการทำงานของหัวใจและการไหลเวียน
หัตถการเกี่ยวกับหัวใจ
การสวนหัวใจ
การใส่สายสวนที่มีBalloonตรงปลาย ผ่านทางผิวหนังเข้าสู่เส้นเลือด
หัวใจเพื่อขยายหลอดเลือด Coronary artery
วิธีการทำ
ทำบอลลูนเพื่อขยายบริเวณที่ตีบ
ใส่ Stent ป้องกันหลอดเลือดตีบซ ้า
ใส่สายสวนผ่านผิวหนังอาจเป็ นบริเวณข้อมือ ขาหนีบ หรือข้อเท้า ผ่าน
ไปจนถึงหลอดเลือดหัวใจ coronary ที่ตีบ
การพยาบาลก่อนทำ
สื่อสารกับแพทย์ได้
NPO
เจาะเลือด x ray หัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
หลังทำ
สังเกตอาการ
ควรรับประทานอาหารที่เป็นน ้ำ หรือของเหลว หลังทำบอลลูน
นอนราบและนอนนิ่งๆประมาณ 8 ชม.อาจจะนอนหนุนหมอนสองใบหลังจากทำ
ไปแล้ว2ชม.
ต้องกดแรงและนานอย่างน้อย 30 น.บริเวณที่ถอดสายสวนไว้เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดออก
CABG
การผ่าตัด ตัดต่อเส้นเลือดเพื่อให้กล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงอย่างเพียงพอ
ข้อบ่งชี ้ในการทำคือ ผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบอย่างรุนแรง
มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างรุนแรง และเจ็บหน้าอก ไม่ตอบสนองการรักษาด้วยยา
การรักษาพยาบาลก่อนทำ 3-6 ชม.
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยา sedative ทางปากหรือหลอดเลือดดำ
ให้ยาระงับความรู้สึก GA
ใส่ท่อช่วยหายใจ
สวนปัสสาวะค้าง
หลังทำ
ย้ายเข้า ICU
ติดตามการทำงานของหัวใจตลอดเวลา
Controlled heart rate
ดูแลสาย Chest tube
ดูแลทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ
หลอดเลือดโป่งพอง
การสะสม
ของไขมัน
ทำให้ผนังหลอดเลือดบริเวณนั้นโป่งตึงรูปร่างคล้ายถุง
เป็นภาวะที่ผนังหลอดเลือดแดงหรือดำอ่อนแอ
พบใน
สมอง
ช่องท้อง
ช่องอก
พบบ่อยคือ AAA
ตำแหน่งที่หลอดเลือดโป่งพองจะมีเลือดไหลมาเติมช่องว่างให้เต็มโป่งตึงเสี่ยงแตก และตกเลือด
อาการ
ปวดท้องเรื้อรัง
คลำก้อนได้ที่หน้าท้องใต้ลิ้นปี่
มีก้อนเต้นที่ท้องสัมพันธ์กับชีพจร
ถ้ามีแรงดันในช่องท้องการ
กดหรือกระแทกรุนแรง อาจทำให้เกิดการแตกได้
การรักษา
ถ้าหลอดเลือดแดงใหญ่ไม่โตมากให้เฝ้าระวังอาการ
แต่ถ้าก้อน
โตมากต้องพิจารณาผ่าตัดซึ่งมีภาวะแทรกซ้อน
ระยะแรก
DIC
ARDS
เสียชีวิต
จากเสียเลือด
renal failure
ระยะยาว
aorto-enteric fistula thrombosis
Graft
infection
ถ้ามีอาการ แน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด เป็นลมหรือไอเป็นเลือดให้
ระวังการปริแตกของ Anuerysm
ผู้ป่วยที่มาด้วยก้อนแตก ต้องผ่าตัดโดย
ด่วนมีอัตราการตายสูง
การพยาบาล
ควบคุมความดันโลหิต
งดบุหรี่
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจอาจเกิดภายหลังหรือแรกเกิด
เป็นปัญหาที่ลิ้นหัวใจเปิดไม่ได้สมบูรณ์
สาเหต
การติดเชื้อต่างๆที่ลุกลามถึงการติดเชื้อของลิ้นหัวใจ
โรคหัวใจจากสาเหตุอื่นๆ
อายุ
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
โรคความดันโลหิตสูง
โรคออโตอิมูน
ผลข้างเคียงจากยาลดน้ำหนัก
โรคของลิ้นหัวใจที่พบบ่อย
ลิ้นไมตรัลรั่ว
เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
เกิดขึ้นเมื่อลิ้นหัวใจไมตรัลปิดไม่สนิท
ทำให้มีเลือด
ไหลย้อนกลับไปที่หัวใจเอตรียมซ้าย
อาการ
ระยะแรกไม่มีอาการ
รุนแรงขึ้นจะพบหายใจ
ลำบากขณะมีกิจกรรม เมื่อพักอาการจะหายไป ใจสั่น นอนราบไม่ได้
บวมกดบุ๋ม หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอ
การรักษา
ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ
ระยะรุนแรง มักรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียม
ชนิดโลหะ เกิดลิ่มเลือดได้มาก
และธรรมชาติ เกิดลิ่มเลือด
น้อยกว่า
ระยะไม่มีอาการ ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการกลับ
เป็นซ ้ำจำกัดกิจกรรม จำกัดเกลือและน้ำ
.ลิ้นเอออร์ต้าตีบ
ลิ้นไมตรัลตีบ
ไข้รูมาติกเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด การติดเชื้อรูมาติกในวัยเด็ก
พยาธิสภาพ
การอักเสบของลิ้นหัวใจทำให้เกิดความแข็ง หนา หดรัด
ดึงรั้งของลิ้นหัวใจ
ทำให้รูเปิดแคบลง
เลือดไหลไม่สะดวกทำให้เกิดเลือด
ไหลวน
อาการ
เหนื่อยล้า
หายใจลำบากเวลาออกแรง
นอนราบไม่ได้
หอบเหนื่อย
กลางคืน ไอเป็นเลือด
ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation
การรักษา
เป้าหมายคือ ลดอาการหอบเหนื่อยจากหัวใจล้มเหลว มีอายุยืนยาว
และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การผ่าตัด ขยายลิ้นหัวใจ
การปรับพฤติกรรม
การใช้ยา
ลิ้นเอออร์ต้ารั่ว
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ทำเมื่อไม่สามารถรักษาด้วยยาได้
เพื่อขยายรูลิ้นหัวใจให้กว้างขึ้นเท่ากับรูลิ้นปกติ หรือซ่อมแซม รูรั่ว หรือทดแทนลิ ้นหัวใจที่ผิดปกติ
ลิ้นหัวใจเทียม
ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากสิ่งสังเคราะห์
ทำในคนที่ไม่ใช่ผู้สูงอายุ
หลังทำมักจะต้องรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดตลอดชีวิต
ลิ้นหัวใจเทียมที่ทำจากเนื้อเยื่อคนหรือสัตว์
หลังทำมักได้รับยาต้านการแข็งตัวของ
เลือด 3-6 เดือน
ทำในผู้สูงอาย
การพยาบาล
ออกกำลังกายตามความสามารถของผู้ป่ วย
ทำงานได้หลังผ่าตัด 6 สัปดาห์
การพักผ่อน อย่างน้อย 8 –10 ชั่วโมง ในระยะ 1 เดือน
ลดโซเดียมเพื่อป้องกันการคั่งของสารน ้า
สอนให้สังเกตอาการแสดงที่มาพบแพทย์
การตั้งครรภ์ ในช่วง 3 เดือนแรกหลังผ่าตัด ไม่แนะนำ