Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, นางสาวจิรนันท์ ใฝ่จิตร…
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต
ช็อคและปฏิเสธ (Shock&Denial)
อารมณ์เศร้า โกรธรุนแรง ควบคุมตนเองไม่ได้
ใจสั่น มือสั่น ตัวสั่น หายใจถี่แรง
แบบโกรธ (Anger)
ตะโกนด่า กระวนกระวายเดินไปมา ทำร้ายตนเอง
กล่าวโทษแก่บุคคลอื่น พูดขู่อาฆาต ไม่ร่วมมือ
แบบต่อรอง (Bargaining)
พูดซ้ำๆ พูดรุกเร้าขอให้ช่วย ขอเข้าไปดู/เยี่ยมญาติ
เรียกร้อง ต่อรอง เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ
อารมเศร้า (Depression)
อารมณ์เศร้าเป็นอารมณ์ที่พบเห็นได้ง่ายและพบบ่อย
ปฏิกิริยาของผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง
ด้านร่างกาย
อาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ หลับๆตื่นๆฝันร้าย ตกใจง่าย
แยกตัวออกจากสังคม หวาดระแวง
ด้านปฏิกิริยา/การแสดงออก
นอนไม่หลับ ตกใจง่าย
ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ เฉยเมย
ด้านอารมณ์
ช็อค ไม่ยอมรับในสิ่งที่เห็น
วิตกกังวล กลัว เศร้า
ด้านการรับรู้
สับสน มึนงง ไม่มีสมาธิ มีปัญหาด้านความจำ
โดยจะเกิดขึ้นและลดลงภายใน 1 m ถ้าหากอาการยังอยู่ต้องพบเชี่ยวชาญทางด้านจิตใจ
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต
ด้านจิตใจ
ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตและทำงานเหมือนอย่างเดิมได้ เกิดปัญหาความเจ็บป่วยทางจิตเวช
ด้านร่างกาย
ร่างกายอ่อนแอ พักผ่อนไม่เพียงพอ
ด้านพฤติกรรม
ไม่สนใจดูแลตนเองและสิ่งแวดล้อม แยกตัวออกจากสังคม ปฏิเสธการรับรู้เรื่องราว
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (MCATT)
ทีมระดับตำบล
ประกอบด้วย ผอ.รพ.สต รพ.สต.อสม เจ้าหน้าที่มูลนิธิ
ทีมระดับอำเภอ
จิตแพทย์/แพทย์ นักจิตวิทยาคลินิก นักสังคมสงเคราะห์
ทีมระดับจังหวัด
จิตแพทย์ พยาบาล จิตเวช เภสัช นักสังคมสงเคราะห์
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต
ปรึกษาสุขภาพจิตแก่ทีม MCATT ในพื้นที่
ให้การสนับสนุนทีม MCATT แก่เครือข่าย
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต
การบำบัดพฤติกรรมทางความคิด
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตแบบ Satir
ระยะวิกฤตฉุกเฉิน (72 hrแรกหลังเกิดเหตุ 2 สัปดาห์)
ระยะวิกฤต
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน Ex. ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่ม
จะมีการตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรม
ระยะฉุกเฉิน
มองโลกในแง่ดี การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา
วางแผนในการช่วยเหลือ จัดลำดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
กลุ่มเป้าหมายจะพิจารณาตามความรุนแรง
เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤตทีม MCATT เข้าช่วยเหลือ
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง
สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ
สร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ
สังเกตภาษาท่าทางพฤติกรรม
Nonverbal สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวร่างกาย
Verbal พูดสับสนไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปมา
สร้างสัมพันธภาพ
เริ่มจากการที่ผู้ให้ความช่วยเหลือควรมรท่าทีสงบนิ่ง มีการแนะนำตัว
รับฟังด้วยท่าทีสงบให้กำลังใจ ด้วยการพยักหน้า สัมผัส
การสื่อสาร
เริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
เน้นความรู้สึกขณะนั้น "ตอนนี้รู้สึกอย่างไรบ้าง"
ประเมินผู้ได้รับผลกระทบ
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
ได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกาย ควรบรรเทาความเจ็บปวด
อ่อนเพลีย ควรจัดหาน้ำให้ดื่ม
เป็นลม จัดหายาดมแอมโมเนีย
ประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะช็อกปฏิเสธ
ดูแลทางกาย ให้อยู่ในสถานที่สงบ
ดูแลทางจิตใจ ระบายความรู้สึก ใช้เทคนิคการสัมผัส
สังคม การโทรศัพทย์ติดต่อญาติ
ภาวะโกรธ
ทางกาย ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ดูแลอย่างใกล้ชิด
ทางใจ ระบายความรู้สึกทักษะการตั้งใจฟัง พูดสะท้อนอารมณ์
ภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถหามาได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นจริง
ภาวะเสียใจ
ช่วยเหลือโดยหาผ้าเช็ดหน้า น้ำเย็น
หายใจไม่ออก ฝึกหายใจแบบ Breathing Exercise
ประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ผู้ประสบภาวะวิกฤติรับฟังมากขึ้น
อารมณ์สงบ
ลดเงื่อนไขต่อรอง
ยอมรับความจริง อารมณ์สงบ
ประเมินความต้องการทางสังคม
ต้องการพบญาติ ติดต่อทางโทรศัพท์
ไร้ญาติมิตร ให้ความช่วยเหลือ หาที่พักพิงชั่วคราว
ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน การศึกษา ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ
ฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
Touching skill (การสัมผัส)
แตะบ่า แตะมือ บีบนวดเบาๆ
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส นวดจุดคลายเครียด
ลดความเจ็บปวดทางใจ
การฟังอย่างใส่ใจ(Active Listening)
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซ้ำ
การเสริมสร้างทักษะ
วิธีการให้สุขภาพจิตและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ไต่ถามข้อมูล
ตรวจสอบความช่วยเหลือที่จำเป็น
ต.2 เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นกับอาการที่เกิดขึ้น
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
วางแผน หาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆ
นางสาวจิรนันท์ ใฝ่จิตร 6001210767 เลขที่ 32 Sec.B