Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8เด็กเบี่ยง - Coggle Diagram
บทที่8เด็กเบี่ยง
โรคเบาหวาน(Diabetes Mellitus)
ชนิดพึ่งอินซูลิน(IDDM)Type 1 เกิดจากสาเหตุปฐมภูมิหรือไม่ทราบสาเหตุ มักเกิดขึ้นในเด็ก
เกิดจาก Beta cell of islet of langerhans ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เพียงพอ สร้างไม่ดี
ปัจจัยทางพันธุกรรม มีความสัมพันธ์กับระบบแอนติเจนของเม็ดเลือดขาว HLA
Autoimmune mechanisms มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำลายเบตาเซลล์
ไม่พึ่งอินซูลินNIDDM type 2 มักเกิดกับผู้ใหญ่หรือเด็กอ้วน
ตับอ่อนไม่สามารถผลิตอินซูลิน
ตับอ่อนผลิตเบตาปกติ แต่ร่างกายมีความต้องการมากกว่าปกติ
อินซูลินถูกยับยั้งทำลาย
เมื่อร่างกายขาดอินซูลิน เสมือนว่าประตูเซลล์ถูกปิด กลูโคสไ่ม่สามารถผ่านเข้าไปในเซลล์ร่างกายได้ ทำให้เกิด Hyperglycemia
อาการและอาการแสดง
กระหายน้ำมาก(polydipsia) ปัสสาวะมาก(polyuria) หิวบ่อย(polyphagia) น้ำหนักลด
การวินิจฉัยโรค
ประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน แฝดเหมือนแฝดคนนึงเป็นเบาหวาน
จากอาการอารการแสดง
จากห้องปฎิบัติการ
เจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหาร FBS งดอาหาร8-12hrน้ำตาลไม่ควรเกิน 120 mg/dl
เจาะเลือดเวลาใดก็ได้ไม่ต้องอดอาหาร ไม่ควรเกิน 200mg/dl
เจาะหลังอาหารเช้า 2hr ไม่ควรเกิน200mg/dl เจาะ FBSก่อน และเจาะอีกครั้งหลังกินกลูโคส 1.75 g/kg
ทดสอบความทน มีค่ามากกว่า200 mg/dl ใน2Hr หลังให้น้ำตาล
ตรวจหาระดับ GHb คนปกติจะมีค่าร้อยละ 6-8 ผู้ป่วยที่ควบคุมเบาหวานได้ดีมากมีค่าระหว่างร้อยละ 2.5-6 ควบคุมได้ดีมีค่าร้อยละ 6.7-8 และควบคุมไม่ดีจะมีค่ามากกว่า ร้อยละ 8
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน
ภาวะคีโตนคั่งในกระแสเลือด ปัจจัยที่ส่งเสริมคือการติดเชื้อ ความเครียดทางจิตใจ เมื่อร่างกายไม่สามารถใช้กลูโคสเป็นพลังงานได้ จึงหันมาใช้แหล่งพลังงานจากไขมันแทน ไขมันแตกตัวตับจะเปลี่ยนไขมันให้เป็นคีโตน สะสมมากจะออกมากับปัสสาวะและลมหายใจจะมีกลิ่นอะซิโตนฝผลไม้
Hypoglycemia เกิดจาการได้รับอินซูลินมากไป รับประทานอาหารช้า ออกกำลังมาก จะเกิดขึ้นเมื่อมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 60 mg/dl เหงื่ออกมาก ตั่วสั่น ชีพจรเร้ว หิว ซึม สับสน อารมณ์เปลี่ยนแปลง
ต่ำไม่รุนแรงและมีอาการ adrenergic symptoms เช่น มีอาการมือสั่น ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ต่ำกว่า 70 mg/dl ดื่มน้ำผลไม้ ตามด้วยsnack
รุนแรงปานกลาง มีอาการสมองขาดกลูโคส อ่อนเพลีย อุณหภูมิต่ำ มึนงง ปวดหัว ต่ำกว่า 45-55 mg/dl ให้น้ำหวานหรือน้ำผึ้ง เครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ลูกอม ตรวจระดับน้ำตาลซ้ำทุก 10-15นาที ตามด้วย snackชิ้นใหญ่ สังเกตอาการใกล้ชิด
รุนแรงมาก ไม่รู้สึกตัว ชัก หมดสติ น้ำตาลต่ำกว่า 30 mg/dl ให้กลูคากอน IM ไม่มรให้ฉีด สารละลายกลูโคส25%ทันที
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง
โรคติดเชื้อจะหายช้ากว่าคนปกติ
ผลจาการที่มีน้ำตาลในเลือดสูงอยู่เป็นเวลานาน มีผลให้เกิดอาการคันและติดเชื้อตามผิวหนัง อาการตามัว ต้อกระจก และอาจทำให้ตาบอด เนื่องจากน้ำตาลไปสะสมในเนื้อเยื่อ