Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง 2, :arrow_down_small:, :arrow_down_small:, นางสาว…
การพยาบาลเด็กโรคมะเร็ง 2
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute Leukemia)
ภาวะที่มีการเพิ่มจานวนเม็ดเลือดขาวอย่างรวดเร็วทั่วร่างกายอย่างควบคุมไม่ได้
จากพันธุกรรม
การได้รับรังสี
สารเคมี
ไวรัสบางชนิด
อาการ
ซีด
จำเลือดตามผิวหนัง
มีไข้
ตับม้าม ต่อมน้ำเหลืองโต
การวินิจฉัย
1 การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการเกิด การเลี้ยงดู สิ่งแวดล้อม การเจ็บป่วยในอดีต การได้รับยาหรือสารเคมี
2 การตรวจร่างกาย : ภาวะซีด ภาวะเลือดออกที่ผิวหนัง การทำงานของหัวใจ อัตราของชีพ
3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC
blast cell cell มากกว่า 100,000 cell/mm 3
ตรวจไขกระดูก
การรักษา
ให้ยาเคมีบำบัด (chemotherapy
)โดยใช้ในรูปยาฉีดหรือหยดเข้าหลอดเลือดดำ รับประทาน และฉีดเข้าทางช่องไขสันหลัง
methotrexate, 6-MP, cyclophosphaminde, vincristine, Adriamycin เป็นต้น
การใช้รังสีรักษา (radiation therapy หรือ radiotherapy)
ที่บริเวณกะโหลกศีรษะ โดยใช้ร่วมกับการฉีดยา methotrexate เข้าทางไขสันหลัง
การรักษาด้วยการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ใช้ยากลุ่ม G-CSF เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายมีการสร้างเม็ดเลือดขาวเอง
stem cell
การรักษาตามอาการ
เช่น การให้เลือดและเกล็ดเลือดเมื่อมีภาวะซีดรุนแรง หรือมีเลือดออก การรักษาภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาเคมีบำบัด หรือรังสีรักษา
การพยาบาล
การดูแลป้องกันการติดเชื้อจากมีนิวโทรฟิวน้อย และหรือไขกระดูกถูกกดการทำงานจากผลของยาเคมีบำบัด
การเฝ้าระวังเกิดภาวะ septic shock
จากการติดเชื้อในขณะที่ร่างกายมีเม็ดเลือดขาวชนิด granulocyte ต่ำ
การเฝ้าระวังเลือดออกจากเกล็ดเลือดต่ำ และการเกิด spontaneous hemorrhage
เนื่องจากไขกระดูกถูกกดการทำงาน
การดูแลเมื่อเกิดผลข้างเคียงจากการได้รับยาเคมีบำบัด
การดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหาร
ให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลเมื่อเกิดการเจ็บปวด ไม่สุขสบายจากโรคและหัตถการ
ดูแลจิตใจจากการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
มะเร็งกล้ามเนื้อ (Rhabdomyosarcoma)
มะเร็งกล้ามเนื้อลายเกิดจาก Primitive mesenchyme ที่เจริญเติบโตผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
Nasopharynx :ทางเดินหายใจอุดตัน มีเลือดกำเดา
Paronasal sinus บวม ปวด ไซนัสอักเสบเรื้อรัง
หูชั้นกลาง ปวด อักเสบเรื้อรัง
กระเพาะปัสสาวะ ปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะเป็นเลือด
คอ :เสียงแหบ กลืนลำบาก
ลำตัว แขนขา เห็นและคลำได้ก้อน
เบ้าตา : ตาโปน
ช่องคลอด มีเลือดออก ก้อนคล้ายพวงองุ่น
การรักษา
ผ่าตัด ถ้าสามารถเอาก้อนออกได้หมด
ผ่าตัดเพื่อเอาเนื้อมาตรวจวินิจฉัย
ให้ยาเคมีบาบัดVinrcristine , ActinomycinD , Ifosfamind , Cisplatin ,
VO 16 , Carboplatin และ Cyxlophosphamide
พยาธิสภาพ
Botryoid type จาก Embryonal cell ถ้าเจริญอยู่ในอวัยวะที่เป็นโพรง จะมีลักษณะการติดต่อที่เป็นพวง ผิวเป็นมัน มีกิ่งก้านยื่นเข้าไปในช่องว่าง
Alveolar typeมักพบในที่ลึกๆ บริเวณลำตัวแขนขา
Embryonal type พบได้ในทุกส่วนของร่างกาย โดยเฉพาะที่ศีรษะ คอ
Pleomorphic type หรือ Adult form
มักพบใน Soft part extremities and trunk
การพยาบาล
เตรียมเด็กและผู้ดูแล สำหรับการวินิจฉัยและการรักษา เช่น การผ่าตัด รังสีรักษา และการให้เคมีบำบัด
เนื้องอกของเซลล์ประสาท (Neuroblastoma)
มีต้นกำเนิดจากเซลล์ Neural crest
มีความผิดปกติของChromosome คู่ที่ 1
อาการและอาการแสดง
ไอ หายใจขัด
แขนขาอ่อนแรง
มีความผิดปกติในระบบขับถ่าย
มีก้อนที่คอ หนังตาตก รูม่านตาหดเล็ก
Olfactory bulb คัดจมูก เลือดกำเดาไหล จมูกไม่ได้กลิ่น
ปวดกระดูก, ตาโปน มีรอยช้ารอบเปลือกตา
ระยะของโรค
II ไปต่อมน้ำเหลืองข้างเดียวกัน
III ข้ามเส้นกลางลาตัว ไปต่อมน้ำเหลืองทั้งสองข้าง
I อยู่ในอวัยวะต้นกำเนิด
IV ไปกระดูก สมอง ตับ ปอด ผิวหนัง
การรักษา
Stage I การรักษาโดยการผ่าตัด
Stage II, III,IV การรักษาโดยการผ่าตัด
การฉายรังสีรักษา
การให้ยาเคมีบาบัด Cyclophophamide ,Vincristine, Doxorubicin
การพยาบาล
การพยาบาลตามอาการและอาการแสดงขึ้นกับตำแหน่งเป็นเนื้องอก
การวัดประเมินความดันเลือดเป็นระยะๆ
การดูแลผิวหนังเด็กให้แห้ง เพราะเด็กจะมีเหงื่อออกมาก
การวินิจฉัย
ประวัติ/ตรวจร่างกาย : คลำพบก้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด ซีด เกร็ดเลือดต่ำ
การตรวจไขกระดูก เซลล์มะเร็งดูคล้ายดอกกุหลาบ
ผลชิ้นเนื้อจากก้อนมะเร็ง พบ Cell มะเร็ง
การตรวจปัสสาวะ หาระดับ Catecholamine สูง
การตรวจทางรังสี Chest-x-ray CT chest, abdomen IVP Ultrasound
เนื้องอก/มะเร็งของไต (Wilm’s tumor)
เนื้อเยื่อไตไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
อายุ 2-3ปี ประวัติครอบครัวเป็น
พยาธิสรีรวิทยา
เนื้อเยื่อเริ่มแรกของไต
ความผิดปกติในกระบวนการ Renal embryogenesis
เนื้อเยื่อเซลล์มะเร็ง 1 ชนิด 2 ชนิด หรือทั้ง 3 ชนิด คือ Epithelium, BastemaBastemaและ Sroma
อาการและอาการแสดง
ท้องโต ก้อนมักแข็ง ผิวเรียบ ไม่เจ็บ
ปวดท้อง
เบื่ออาหาร
ปัสสาวะเป็นเลือด และมีอาการซีด
มีความดันโลหิตสูง
การแบ่งระยะ ตาม National Wilm s tumor study group
ระยะที่ 3 กระจายออกนอกไตไปช่องท้อง
ระยะที่ 4 กระจายไปตามกระแสเลือด ปอด ตับ สมอง กระดูก ต่อมน้าเหลือง
ระยะที่ 2 ลามออกนอกไต
ระยะที่ 5 ไตทั้งสองข้าง
ระยะที่ 1 อยู่ที่ไตข้างเดียว
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ : พบว่ามีก้อนในท้อง
การตรวจร่างกาย : ขนาด และตำแหน่งของก้อน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ Hct ต่ำ
พบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
Ultrasound CT
X-Ray
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนการผ่าตัด
ห้ามคลำท้อง
ประเมินการทำงานของไต
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันเลือด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินการทำงานของระบบทางเดินอาหาร
ระวังและหลีกเหลี่ยงสิ่งที่จะทำให้ไตทำหน้าที่เพิ่มขึ้นและได้รับอันตรายเพิ่มขึ้น
การประคับประคองสภาพจิตใจแก่บิดา มารดา
การรักษา
การผ่าตัด ตรวจชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัย
การฉายรังสี : รักษาผู้ป่วยทุกรายที่เป็นตั้งแต่ระยะที่ 3 ขึ้นไป
การใช้ยาเคมีบาบัด : ส่วนใหญ่จะให้หลังผ่าตัด ทราบผลชิ้นเนื้อแล้ว
ยาที่ใช้บ่อย
Actinomycin D(AMD)
: Vincristine (VCR)
: Adriamycin (ADR)
:arrow_down_small:
:arrow_down_small:
นางสาว อรุณรัตน์ มัสแหละ เลขที่ 82