Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือ Perinatal asphyxia) - Coggle Diagram
ภาวะขาดออกซิเจน
(Birth asphyxia หรือ Perinatal asphyxia)
กลไกการเกิด
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง มีการหยุดไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง เช่นสายสะดือถูกกดทับ
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก เช่น รกลอกตัวก่อนกำหนดabruptionplacenta) รกมีเนิ้อตาย(placenta infarction)
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ เช่น มารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูง มารดามีอาการช็อค
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่ เช่น มีทางเดินหายใจอุดตัน
มีน้ำคั่งในปอด มีความสามารในการหายใจไม่สมบูรณ์ มีการหายใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกวา่ ปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติอัตราการเต้นของหัวใจทารกในระยะแรกจะเร็วมากกว่า 160คร้ัง/นาที ต่อมาจึงช้าลง
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
แรกคลอดทันทีมีคะแนน APGAR ต่ำกว่า 7 ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่มอ่อนปวกเปียกปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง หัวใจเต้น ช้า
การทำงานของเซลล์ปอดเสียไปทำให้
ทารกคลอดก่อนกำหนดเกิดภาวะ RDSส่วนทารกที่คลอดครบกำ หนดจะเกิดภาวะ persistentpulmonary hypertention of the newborn (PPHN)
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด การขาดออกซิเจนส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว ผิวซีด หายใจแบบ gasping มีmetabolic
acidosisอุณหภูมิร่างกายต่ำลง ความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท ถ้าขาดออกซิเจนนานทารกจะซึม หยุดหายใจบ่อย การเปลี่ยนแปลงในสมองเรียกวา่hypoxicischemic encephalopathy (HIE)
สูญเสียกำลังกล้ามเนื้อ พบได้ในช่วงอายุ2-3 ชั่วโมงแรก ในตอนแรกจะมี
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเล็กน้อย ถ้ากำลังกล้ามเนื้อดีขึ้นเร็วภายใน 1-2วันแรก
ทารกมักรอดชีวิตและมีสมองปกติถ้ายังคงอ่อนแรงใน 4-5วันแรกทารกมักเสียชีวิตหรือรอดชีวิตแต่มีความพกิารทางสมองอย่างมาก
ชักมักเริ่มเห็นภายใน 12-24 ชั่วโมง เริ่มด้วยอาการชักแบบ subtle seizure ต่อมาจึงมีอาการชัก เกร็ง
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติเป็นสิ่งที่แสดงถึงความรุนแรงในการขาดออกซิเจน
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหารลำไส้จะบีบตวัแรงชั่วคราว ทำให้ทารกถ่ายขี้เทาขณะอยู่ในครรภ์มารดาจึงเสี่ยงก่อการสำลักขี้เทาเข้าปอด
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม หลังจากขาดออกซิเจน ทารกมักจะเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมต่ำ และโปแตสเซียมสูง
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ ทารกจะมีปัสสาวะน้อยลงหรือไม่ถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
1)ค่า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg, PaO2 < 40mmHg, pH < 7.1
ค่าของ calcium ในเลือดต่า กว่า 8 mg%
ค่าของpotassium ในเลือดสูง
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อทารกมีภาวะขาดออกซิเจน ทำให้มีปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือดด แรงดัน o2 ต่ำกว่า co2 โดยมีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สาคัญที่สุดในร่างกายก่อน คือ สมอง หัวใจ
และต่อมหมวกไต ส่วนอวัยวะอื่นๆ จะมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลง การเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจเริ่มด้วยมีอาการหายใจแบบขาดอากาศประมาณ 1 นาทีตามด้วยการหายใจไม่สม่ำเสมอและหัวใจเต้นช้าลงถ้าไม่ได้รับการแก้ไขทารกจะหยุดหายใจ ซึ่งเป็นการหยดุ หายใจคร้ังแรก(primary apnea)ถ้าไม่ช่วยกู้ชีพทารกจะ
พยายามหายใจใหม่อีกคร้ังแต่เป็นการหายใจที่ไม่สม่า เสมอประมาณ 4-5 นาทีแล้วจะทรุดลงไปอย่างรวดเร็วและหยดุ หายใจอย่างถาวร(secondary apnea
การพยาบาล
เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการแสดงที่น่าสงสัยว่าจะเกิด asphyxia
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
3.เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
4.บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจนเพื่อใหก้ารช่วยเหลือ
และปรึกษาแพทย์ต่อไป
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ดูแลให้พักผ่อน
10.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
การให้ความอบอุ่นเช็ดผิวหนังทารกให้แห้งอย่างรวดเร็วด้วยผ้าแห้งห่อตัวทารกด้วยผ้าอุ่นผืนใหม่หรือวางทารกบนหนา้อกหรือหน้าท้อง
ของมารดาโดยให้ผิวหนังทารกสัมผัสกับผิวหนังมารดาโดยตรง
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airway)
กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำ คร่ำหลังจากศีรษะทารกคลอดใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก
กรณีมีขี้เทาปน ไม่ว่าจะมีขี้เทาใสหรือขุ่นข้นปนในน้ำคร่ำต้องรีบดูดขี้เทาออกทันทีที่ศีรษะทารกคลอด
การกระตุ้นทารก(tactile stimulation)
ถ้าทารกยังไม่ร้องหรือหายใจไม่เพียงพอให้ลูบบริเวณหลัง
หน้าอก ดีดส้นเท้าทารก
การให้ออกซิเจน
ในทารกที่มีตัวเขียว อัตราการเต้นของหัวใจช้า หรือมีอาการหายใจลำบาก
ให้ออกซิเจน 100%ผ่านทาง mask
การช่วยหายใจ(ventilation)
การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก โดยใช้mask และ bag
หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100คร้ัง/นาที
เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
การใส่ท่อหลอดลมคอ
เมื่อต้องช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกเป็นเวลานาน
เมื่อช่วยหายใจด้วย mask และ bagแล้วไม่ได้ผล
เมื่อต้องการดูดสิ่งคัดหลั่งในหลอดลมคอ กรณีที่มีขี้เทาปนเปื้อนน้ำคร่ำ
เมื่อต้องการนวดหัวใจ
ทารกมีไส้เลื่อนกระบังลมหรือน้ำหนักตัวน้อยกวา่ 1,000 กรัม
การนวดหัวใจ(Chest compression)
คืออัตราการเต้นของหัวใจทารกยังคงน้อยกว่า60 ครั้ง/นาทีขณะที่ได้ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% นาน 30วินาที
การให้ยา (medication)
Epineprine ใช้เมื่อช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% และนวดหัวใจนานเกิน 30วินาทีแล้วอัตราการเต้นของหัวใจยังคงน้อยกว่า 60คร้ัง/นาที
เพิ่มปริมาตร(volume expanders) ใช้เมื่อทารกมีภาวะ hypovolemic
Naloxone hydrochroride (Narcan) เป็นยาต้านฤทธิ์ยาเสพติดที่ไม่กดการหายใจใช้ก้บทารกที่มารดาได้รับยากลุ่มยาเสพติดที่กดการหายใจภายใน