Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง - Coggle Diagram
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
การพยาบาล
1.ประเมินความผิดปกติของระบบไหลเวียน ประเมินซ้ำเป็นระยะ
2.ติดตามผลการทำงานของหัวใจ
3.เตรียมและให้การพยาบาลก่อนและหลังทำหัตถการ
4.การดูแลระบบไหลเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output
5.ให้น้ำเกลือเพื่อเพิ่มปริมาณเลือด
6.ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจ ตามแผนการรักษา
การรักษา
การใช้ยา NSAID, cochicin อาจให้ตัวเดียวหรือร่วมกัน สำหรับ Coricosteroid ให้เมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น
การระบาย (Drainage)
การดูแลระบบไหลเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output
การประเมินสภาพ
ประวัติการเจ็บป่วย เช่น การรับประทานยาบางอย่าง การเกิดอุบัติเหตุทางทรวงอก การฉายแสง
อาการและอาการแสดงที่สำคัญ คือ เจ็บหน้าอก(Precordial Pain) เสียงเสียดสีของเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial friction rub) หายใจลำบาก (Dyspnea)
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ น้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ ๖Pericardial effusion) และหัวใจถูกกดทับ (Cardiac temponade)
พยาธิสภาพ เกิดจากการอักเสบที่เยื่อหุ้มหัวใจ ซึ่งอาจเกิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
สาเหตุ
การได้รับบาดเจ็บ (Trauma)
การติดเชื้อ ได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย วัณโรค เชื้อรา พยาธิ ไข้รูมาติก
ปฏิกิริยา Autoimmune ของร่างกาย ได้แก่ SLE , ไข้รูมาติค
สารพิษ (Toxic agent) เช่น Lithium,Cocaine,Alcohol
อาการ
ไข้ หนาวสั่น เจ็บหน้าอกราวไปแขน ไหล่ และคอ ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง rub หรือ Grating sound และหัวใจเต้นเร็ว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Tuberculin test
CBC และ ESR ซึ่งมีค่าสูงมากในกรณีมีการติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ
LE preparation และ ASO titer
BUN, Cr
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
การรักษาและการพยาบาล
1.การช่วยเหลือการทำงานของหัวใจ โดยใช้เครื่องช่วยการทำงานของหัวใจแบบพิเศษ
2.การให้ยาคุ้มกันและยาต้านการอักเสบ การให้ยาดังกล่าวในผู้ป่วยที่ผล Biopsy ยืนยันค่า เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบจริง แล้วพบว่าอากรดีขึ้น
3.การให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานลดลง เช่น ยากลุ่มขยายหลอดเลือด (Vasodilator)
4.การรักษาโดยไม่ใช้ยา ได้แก่ การสังเกตการทำงานของหัวใจ และระบบไหลเวียนเลือด การควบคุมน้ำ และการให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
5.การผ่าตัด เช่น การผ่าตัดใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ
สาเหตุของการเกิดโรค : เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายจากเชื้อโรค เช่น เชื้อไวรัส ได้แก่ Coxackiea, Coxackie b, Influenae, Admovirws, CMV, EBV
อาการ
อาการเหมือนไข้หวัดใหญ่ มีไข้ หนาวสั่น เหงื่อออก ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ อาเจียนและท้องเสีย ร่วมกับอ่อนเพลีย
เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า
ในระยะยาว อาจมีภาวะแทรกซ้อนต่อการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ จนเป็นภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังได้
เยื่อบุหัวใจอักเสบ (Endocarditis)
พยาธิสภาพ : เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เข้าสู่ระบบไหลเวียนไปที่หัวใจ และฝังตัวอยุ่ในเยื่อบุหัวใจหรือลิ้นหัวใจ
สาเหตุ คือ ที่ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา ที่พบส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งมักเข้าสู่กระแสเลือดได้ จากทางแผลหรือทางเข้า เปิดส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
ในรายที่ไม่รุนแรง ไม่มีอาการแสดง อาการทั่วไปจะเริ่มจากอ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
ในรายที่มีอาการรุนแรง จะตรวจพบความผิดปกติของ T-were
การรักษาและการพยาบาล
ให้ยาต้านการติดเชื้อจนครบ เนื่องจากต้องให้ยาเป็นระยะเวลายาวนาน
ให้ยาเพิ่มการบับรัดตัวของหัวใจ เช่น Digitalis
ให้ยาขับปัสสาวะ
ติดตามการทำงานของหัวใจ
ดูแลช่วยเหลือกิจกรรม เนื่องจากผู้ป่วยมีภาวะ Activity intolerance
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
โรคลิ้นหัวใจ
ลิ้นเอออร์ต้ารั่ว (Aorta regurgitation/insufficiency)
มีอาการใจสั่น หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ หายใจเหนื่อยตอนกลางคืน ล้า มีอาการเจ็บหน้าอก และหลอดเลือดปอด เกิดภาวะปอดบวมน้ำเฉียบพลัน
สาเหตุเกิดจาก ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ ส่วนใหญ่เกิดจากไข้รูมาติค เชื้อแบคทีเรียน หรือซิฟิลิส
พยาธิสภาพ ลิ้นเอออร์ติกรั่วเฉียบพลัน มักเกิดจากเยื่อบุหัวใจอักเสบติดเชื้อ หลอดเลือดเอออร์ติคฉีกขาด การบาดเจ็บของทรวงอก ซึ่งภาวะเหล่านี้ ทำให้ Ventricle ไม่สามารถปรับตัวรับปริมาตรเลือด ที่ย้อนกลับได้ ความดันในเวนตริเคิลสูงมาก ทำให้ลิ้นไมตรัลปิดก่อนกำหนด เลือดจึงค้างในเอเตรียม
ลิ้นเอออร์ต้าตีบ (Aorta stenosis)
อาการเจ็บหน้าอกแบบ Angina หายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ล้า นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบตอนกลางคืน
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการพิการแต่กำเนิด และความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะลิ้นหัวใจ เมื่ออายุสูงขึ้น ติดเชื้อลิ้นหัวใจ หรือเป็นไข้รูมาติต ทำให้ลิ้นหัวใจหนา หดรัด มีหินปูนเกาะ
พยาธิสภาพ อาการจะค่อยเป็นค่อยไปเป็นเวลาหลายปี จนลิ้นหัวใจมีรูตีบเล็ก ถึงจะปรากฏอาการ
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
อาการเหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ เหนื่อยหอบตอนกลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบู่ฒ
สาเหตุ ไข้รูมาติคเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด การติดเชื้อรูมาติคในวัยเด็ก
พยาธิสภาพ การอักเสบของลิ้นหัวใจ ทำให้เกิดความแข้ง หนา หดรัด ดึงรั้งของลิ้นหัวใจ ทำให้รูเปิดแคบลง เลือดไหลไม่สะดวก ทำให้เกิดการไหลวน
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
โรคหลอดเลือดแดงแข็ง
อายุที่สูงขึ้น ทำให้เนื้อเยื่อหัวใจเสื่อมลง ร่วมถึงลิ้นหัวใจ ส่งผลให้ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิทขณะที่หัวใจบีบตัว
การติดเชื้อต่างๆที่ลุกลามถึงการติดเชื้อของลิ้นหัวใจ
โรคความดันโลหิตสูง เพราะเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
โรคเกี่ยวกับหัวใจ
ภาวะหัวใจวาย (Heart Failure)
อาการของภาวะหัวใจวาย
มึนศีรษะ วิงเวียน สับสน ซีด เขียวคล้ำ (Cyanosis) บวมจากความดันเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจหนา แข็ง และโตขึ้น โดยเฉพาะห้องล่างซ้าย น้ำและเกลือคั่งในร่างกาย การเพิ่มแรงการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ Cardiac output เพิ่มขึ้นในการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง บีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น หลอดเลือดแดงหดตัว
การป้องกัน
ควบคุมระดับความดันโลหิต และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆที่มีผลกระทบต่อการกำเริบของโรคหัวใจ
การรักษาแต่เนิ่นๆ จะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของอวัยวะต่างๆ
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจและระบบไหลเวียน
การประเมินผู้ป่วยโรคหัวใจ
การซักประวัติ
อาการสำคัญ
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
แบบแผนการดำเนินชีวิต
การตรวจร่างกาย
ดู (Inspection) สังเกตตั้งแต่สีรษะจรดเช้า
ฟัง (Auscultation)
Murmur
Gallop
Friction rub
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือด (CBC) , ESR
การทดสอบการแข็งตัวของเลือด ได้แก่ PT, PTT
BUN , Cr
Serum cholesterol
การตรวจพิเศษ
การวัดการไหลเวียน (Circulatory time)
การวัดจำนวนเลือดที่ออกจากหัวใจ (Cardiac output , EF)
การวัดความดันเลือดแดง
การวัดความดันเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressure)
อาการและอาการแสดง
เจ็บหน้าอก (Chest pain)
หายใจลำบาก (Dyspnea)
อ่อนล้า (Fatigue)
ใจสั่น (Palpitation)
เป็นลม (Syncope)
บวม (Edema)
ภาวะเขียว (Cyanosis)
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
ความผิดปกติจากโครงส้รางหัวใจและหลอดเลือด
เป็นตั้งแต่กำเนิด
เกิดขึ้นภายหลัง จากปัจจัยต่างๆ จากการติดเชื้อ
ความผิดปกติของการทำหน้าที่
โรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดแดง/ดำ
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
หัวใจขาดเลือด
ไข้รูมาติค
ความดันโลหิตสูง