Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง, นางสาวภาศินี ขจีรัมย์ รหัสนักศึกษา…
ความผิดปกติของหัวใจและโครงสร้าง
หัตถการเกี่ยวกับหัวใจ
การสวนหัวใจ (Coronaryangioplastry)
การใสส่ายสวนท่ีมี Balloon ตรงปลายผ่านทางผิวหนังเข้าสู่เส้นเลือดหัวใจ เพื่อขยายหลอดเลือด Coronaryartery
การพยาบาลหลังทำ
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด หลังทำผู้ป่วยต้องนอนราบอยู่นิ่งๆ เป็นเวลานานหลายชั่วโมง และต้องกดแรงและนานอย่างน้อย 30 นาที บริเวณที่ถอดสายสวนไว้เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดออก
ควรจะรับประทานอาหารท่ีเป็นน้ำหรือของเหลว หลังการขยายหลอด
เลือดหัวใจด้วยบอลลูน
นอนราบประมาณ 8 ชั่วโมง อาจจะนอนหนุนหมอนสองใบหลังจากทำไปแล้วสองชั่วโมง
โดยผู้ป่วยอาจกลับบ้านได้ภายในวันท่ีตรวจ หรืออาจต้องพักฟื้นที่
โรงพยาบาล 1-2 วัน ขึ้นกับอาการของผู้ป่วย
การพยาบาลก่อนทำการสวนหัวใจ
ต้องงดน้ำและอาหารหลังเท่ียงคืน ต้องงดอาหารและเครื่องดื่ม 6 ชั่วโมงก่อนรับการรักษา
สื่อสารกับแพทย์ได้ โรคประจำต้วยาท่ีรับประทาน โดยเฉพาะยาละลายลิ่ม
เลือด wafarin, coumarin ต้องงดยาก่อน NSAID, ASA
เจาะเลือด x-ray หัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
Coronary artery bypass graft (CABG)
การผ่าตัด ตัดต่อเส้นเลือดเพื่อให้กล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงอย่างเพียงพอ โดยข้อบ่งชี้ในการทำคือ ผู้ป่วยมีหลอดเลือดหัวใจตีบอย่างรุนแรง มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอย่างรุนแรง และเจ็บหน้าอก ไม่ตอบสนองการรักษาด้วยยา
การรักษาพยาบาลก่อนทำ CABG (3-6 ชั่วโมง)
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยา sedative ทางปากหรือหลอดเลือดดำ
3.ให้ยาระงับความรู้สึก GA
4.ใส่ท่อช่วยหายใจ
สวนปัสสาวะค้าง
การพยาบาลหลังทำ CABG
ติดตามการทำงานของหัวใจตลอดเวลา
Controlled heart rate และ hemodynamic
ย้ายเข้า ICU
ดูแลสาย Chest tube
ดูแลทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ
หลอดเลือดโป่งพอง Aneurysm
ตำแหน่งที่หลอดเลือดโป่งพองจะมีเลือดไหลมาเติมช่องว่างให้เต็มโป่งตึง เสี่ยงแตก และตกเลือด
ปัจจัยเสี่ยงในผู้สูงอายุ และกลุ่ม Marfansyndrome สูบบุหรี่ HT โรคปอดเรื้อรัง
Aneurysm เป็นภาวะท่ีผนังหลอดเลือดแดงหรือดำอ่อนแอ หรือการสะสมของไขมันทำให้ผนังหลอดเลือดบริเวณนั้นโป่งตึง รูปร่างคล้ายถุง(sacform) อาจพบใน สมอง ช่องท้อง ช่องอก
อาการ
ผู้ป่วยมักมาโรงพยาบาลด้วยอาการคลำก้อนได้ที่หน้าท้องใต้ลิ้นปี่ ปวดท้องเรื้อรัง มีก้อนเต้นท่ีท้องสัมพันธ์กับชีพจร ถ้ามีแรงดันในช่องท้อง การกดหรือกระแทกรุนแรง อาจทำให้เกิดการแตกได้
การรักษา
ถ้าหลอดเลือดแดงใหญ่ไม่โตมากให้เฝ้าระวังอาการ แต่ถ้าก้อนโตมากต้องพิจารณาผ่าตัด
ถ้ามีอาการแน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด เป็นลมหรือไอเป็นเลือดให้ ระวังการปริแตกของ Anuerysm ผู้ป่วยท่ีมาด้วยก้อนแตกต้องผ่าตัดโดยด่วนมีอัตราการตายสูง
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด หลังผ่าตัดซ่อมแซมเส้นเลือด ระมัดระวังไม่ให้หัวใจและเส้นเลือดแดงใหญ่ทำงานหนัก
งดบุหรี่
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ควบคุมความดันโลหิต
ภาวะหัวใจวาย (Heart failure)
สาเหตุ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ ติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ หรือลิ้นหัวใจถูกทำลาย
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคร่วมเรื้อรังอื่น ๆ เช่น MI, HT, DM, COPD ฯลฯ
หัวใจเต้นผิดปกติ (Arrythmia)
ความผิดปกติของห้องหัวใจล่างซ้ายจากเหตุต่างๆ ทำให้มีความ จำกัดในการคลายตัวเพื่อรับเลือดจากห้องบนซ้าย (Limitedfill)
ความผิดปกติของหัวใจ เช่น Cardiomyopathy
กล้ามเนื้อหัวใจมีการทำหน้าที่ผิดไป (Abnormalmuscle function) ซึ่งอาจเป็นผลมาจากระบบไฟฟ้าหัวใจหรือความผิดปกติของกล้ามเนื้อและโครงสร้าง
สารพิษต่าง ๆ เช่น สารเสพติด
หัวใจทำงานหนักเกินไป(Abnormalloadingcondition)
โรคเกี่ยวกับปอด
โรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronaryarterydisease)
หยุดหายใจขณะหลับ (Sleepapnea)
พยาธิสภาพ
Cardiac output เพิ่มขึ้นในการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง
หลอดเลือดแดงหดตัว
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
การเพิ่มแรงการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง บีบเลื้อดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
น้ำและเกลือคั่งในร่างกาย
กล้ามเนื้อหัวใจหนา แข็ง และโตขึ้น โดยเฉพาะห้องล่างซ้าย
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย
อาการ
หัวใจเต้นเร็วหรือไม่สม่ำเสมอ หายใจลำบากตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspanea/PND)
ตรวจพบหัวใจโต (Cardiomegaly)
ปัสสาวะออกน้อย
อาการอื่นๆ คือเสียงแหบ และไอเป็นเลือด
อาการแทรกซ้อน
น้ำท่วมปอดเฉียบพลัน(Acutepleuraleffusion)
หัวใจห้องล่างขวาวาย
อาการ
ความดันโลหิตสูง
Hepatojugularreflux ได้ผลบวก
ตับ ม้ามโตและปวดแน่นท้อง หรือเจ็บแปลบที่ท้องด้านขวาส่วนบน
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
บวมที่ขาทั้ง 2 ข้าง กดบุ๋ม มือบวม นิ้วบวม ก้นกบบวม อวัยวะเพศบวม น้ำหนักตัวเพิ่ม
การรักษาและการพยาบาล
การให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ ได้แก่ Dopamine, โดบูทามีน, Amrinone
การให้ยาขยายหลอดเลือด ได้แก่ ยากลุ่มไนโตรกลีเซอรีนและไนเตรต
ดูแลให้ยาเพื่อลด Preload และ afterload ของหัวใจ ได้แก่ ยากลุ่ม Digitalis, ยากลุ่มเบต้าบล็อคเกอร์, ACEI, ยาขับปัสสาวะ(Diuretic)
การบำบัดด้วยยาขยายหลอดเลือดแดง
การให้ออกซิเจน
การปรับพฤติกรรม ได้แก่ การจำกัดน้ำ จำกัดเกลือ ควบคุมอาหาร ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก และจำกัดแอลกอฮอล์
เพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง และแก้ไขปัญหาของอวัยวะเป้าหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่ ไต เพื่อลดการคั่งของเลือด
การบำบัดด้วยเครื่องมือ เช่น ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ฯลฯ การผ่าตัด หัวใจรักษาที่สาเหตุ เช่น Coronary artery bypass, heart transplant
ลดการทำงานของหัวใจ (Decreased work load of the heart) เช่น การลดกิจกรรม
การพยาบาลหลังผ่าตัดหัวใจ
บริหารยาหลังผ่าตัดอย่างเคร่งครัด
ให้ยาที่ทำให้หลอดเลือดหดตัว เพื่อคงไว้ของปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจ
ประเมินการทำงานของหัวใจหลังผ่าตัดและการไหลเวียนอย่างใกล้ชิด
ลดกิจกรรมที่ทำให้หัวใจทางานมากขึ้น
การปรับพฤติกรรมและจัดการภาวะเสี่ยงต่าง ๆ (Life style modification) อาหาร ออกกาลังกาย บุหรี่ สรุา ฯลฯ
Atherosclerosis
ภาวะหลอดเลือดตีบแข็ง
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ และเยื้อหุ้มหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
อาการ
อาการเหมือนไข้หวัดใหญ่ (Flu-livesymptom) มีไข้หนาวสั่น เหงื่อออกปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาเจียน และท้องเสีย และร่วมกับอ่อนเพลียจนหมดเรี่ยวแรง
เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า หายใจลำบาก หมดสติ เสียชีวิตเฉียบพลัน
ในระยะยาว อาจมีภาวะแทรกซ้อนต่อการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ จนเป็นภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรังได้
การวินิจฉัยโรค
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG-electrocardiogram)
เอกซเรย์ปอด
เอนไซม์กล้ามเนื้อหัวใจ
การตรวจหัวใจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
การตรวจหวัใจด้วยเครื่องแมเ่หล็กหัวใจ (Cardiacmagnetic resonance imaging)
Endomyocardial biopsy
สาเหตุของโรค
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายจากเชื้อโรค เช่น เชื้อไวรัส ได้แก่ Coxackiea, Coxackie b, Influeneae, Admovirws, CMV, EBV เป็นต้น
ส่วนเชื้อ Bacteria และเชื้อราก็พบได้ ในแง่ของสาเหตุของโรคอื่นๆก็พบได้จากโรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connectivetissuedisease) เช่น โรคลูปัส และอาจเกิดจากยาบางชนิดก็ได้
การรักษา/พยาบาล
ใหัยาคุ้มกันหรือยาต้านการอักเสบ
ให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทํางานลดลง
ช่วยการทํางานของหัวใจ ใช้เครื่องช่วยการทํางานของหัวใจ
การสังเกตการทํางานของหัวใจและระบบไหลเวียน
การควบคุมน้ำ และการให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เยื่อบุห้องหัวใจอักเสบ (Endocarditis)
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงจะตรวจพบความผิดปกติของ T-wave
ไม่รุนแรง อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก
ประเมินสภาพ
ประวัติความเจ็บป่วย การใช้สารเสพติดต่าง ๆ เช่น บุหรี่ สุราและมีแบบแผนการดําเนินชีวิต
การตรวจร่างกาย ประเมินสถานภาพทางหัวใจและการไหลเวียน ฟังเสียงหัวใจ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ Film chest, Echocardiogram และ การสวนหัวใจ
เกิดจากการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นใน (Endothelium) และลิ้นหัวใจ
สาเหตุ แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา ไข้รูมาติค ไข้หวัดใหญ่ เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ
พยาธิสภาพ เยื่อบุกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ มีผลให้การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจไม่มีประสิทธิภาพ ทำให้เลือดออกจากหัวใจลดลง และเกิดลิ่มเลือดไปอุดตันอวัยวะต่าง ๆ
การรักษา/การพยาบาล
ให้ยาขับปัสสาวะ
ให้ยาเพิ่มการบีบรัดตัวของหัวใจ
ให้ยาต้านการติดเชื้อจนครบ
ติดตามการทำงานของหัวใจ
ดูแลช่วยเหลือกิจกรรม
ให้ข้อมูลการปฏิบัติตน
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
เป็นภาวะที่เกิดจากการอักเสบติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ ผู้ป่วยมักจะมาด้วยอาการสำคัญ คือ เจ็บหน้าอก ฟังเสียงหัวใจได้เสียง friction rub ตรวจคลื่นหัวใจผิดปกติ
สาเหตุ
ติดเชื้อได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย วัณโรค เชื้อรา พยาธิ ไข้รูมาติก การติดเชื้อในร่างกาย หรือจากการไม่ติดเชื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลัน ภาวะยูรีเมีย
2.ปฏิกิริยาออโต้อิมมูนของร่างกายได้แก่โรค SLE,ไข้รูมาติคและ Dessler’s syndrome
การใช้ยา Procainamide, Hydralazine หรือ Phenytoin
การได้รับบาดเจ็บ (Trauma)
สารพิษ (Toxic agent) เช่น Lithium, cocaine, alcohol
การได้รับรังสี (radiation)
สารเคมี (chemicals)
พยาธิสภาพ
การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจทำให้เกิดไฟบรินและน้ำเกินบริเวณเยื่อหุ้มหัวใจ ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจแข็งและหนา ขาดความยืดหยุ่น
ความจุหัวใจลดลง ความดันรอบหัวใจสูงขึ้น ทำให้เลือดไหลกลับหัวใจลดลง และการสูบฉีดโลหิตลดลง
อาการ
Chest pain
Chill
Fever
Gratingsound
Fatigue
Tachycardia
Dyspnea
Palpitation
การประเมินสภาพ
อาการและอาการแสดงที่สำคัญคือ เจ็บหน้าอก (Precordial pain) เสียงเสียดสีของเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial friction rub) หายใจลำบาก (Dyspnea) และอาการอื่นๆ เช่น ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหงื่อออก ไอ ปวดตามข้อ น้ำหนักลด เป็นต้น
3.ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ น้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial effusion) และหัวใจถูกกดทับ (Cardiac temponade)
ประวัติความเจ็บป่วย
4.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ ได้แก่ CBCและESR ซึ่งมีค่าสูงมากขึ้นในกรณีมีการติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ EKG, Film chest
การรักษา
2) การระบาย (Drainage) ได้แก่ การเจาะ,การผ่าตัด
3) การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output
1) การใช้ยา NSAID, cochicin อาจให้ตัวเดียวหรือร่วมกัน สำหรับ Coricosteroid ให้เมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น
การพยาบาล
การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output
ให้น้ำเกลือเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด
3.เตรียมและให้การพยาบาลก่อนและหลังการทำหัตถการ
ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจ (Positiveinotropicagent) ตามแผนการรักษา
ติดตามการทำงานของหัวใจ
ติดตามวัดประเมินความดันโลหิตดำ ชีพจร (ดูภาวะ Paradoxical pulse) Echocardiogram
ประเมินความผิดปกติระบบไหลเวียนโดยประเมินซ้ำเป็นระยะๆ
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โรคเกี่ยวกับลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
Aorta valve regurgitation
พยาธิสภาพ
เฉียบพลันจากอักเสบติดเชื้อ ลิ้นหัวใจฉีกขาด การบาดเจ็บทรวงอก เลือดค้างในเอเตรียม และหลอดเลือดปอด เกิดปอดบวม
รั่วเรื้อรังทําให้มีเลือดแดงในเอออร์ต้าบางส่วนไหลกลับสู่เวนติเคิลซ้ายขณะหัวใจคลายตัว
เวนติเคิลซ้ายมีการปรับตัว โดยการขยายห้องหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจทําให้ความตึงตัวผนังหัวใจเพิ่มขึ้นเวนติเคิลซ้ายจึงหนาตัวขึ้น
สาเหตุ ติดเชื้อ ไข้รูมาติก เชื้อแบคทีเรีย
อาการ
อาการ ใจสัน หายใจลําบาก นอนราบไม่ได้ เหนื่อยตอนกลางคืน เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นเร็ว มีเสียงฟู่
รักษา ระยะแรกและปานกลางรักษาตามอาการ ถ้ารุนแรงต้องผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
การพยาบาล
การพักผ่อน
การออกกําลังกายตามความสามารถ
ทํางานได้หลังผ่าตัด 6 สัปดาห์ ลดโซเดียม
ป้องกันการติดเชื้อ
สอนสังเกตอาการแสดงที่ต้องมาพบแพทย์
การรับประทานยา
Mitral valve stenosis
สาเหตุ ไข้รูมาติก
รักษา
ใช้ยาขับปัสสาวะ ผ่าตัดขยาย/เปลี่ยนลิ้นหัวใจ
ปรับพฤติกรรม
ตรวจ EKG, Myocardial nuclear perfusion imaging, Echocardiogram, X-ray ปอด สวนหัวใจ
การพยาบาล
ลดการหอบเหนื่อย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
พยาธิ
ลิ้นหัวใจอักเสบทําให้แข็ง หนา หดรัดดึงรั้ง
ทําให้รูเปิดแคบลง เลือดไหลไม่สะดวก เลือดไหลวน ความดันห้องบนซ้ายและหลอดเลือดแดงที่ปอดสูง รุนแรงทําให้มี Arialfibrillation เกิดลิ่มเลือด และหัวใจล้มเหลว
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลําบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation เขียว murmur
Aorta valve stenosis
สาเหตุ ลิ้นหัวใจพิการแต่กําเนิด หินปูนเกาะ การติดเชื้อ
พยาธิ ค่อยเป็นไปจนลิ้นหัวใจตีบเล็กจึงปรากฎอาการ
อาการ เจ็บหน้าอกแบบ Angina หายใจลําบาก หมดสติ อ่อนเพลียเมื่อออกแรง ล้า นอนราบไม่ได้ เหนื่อยหอบกลางคืน
ประเมินสภาพ ตรวจ EKG, Myocardial nuclear perfusion imaging
รักษาตามอาการ ใช้ยา ปรับพฤติกรรม ผ่าตัด
นางสาวภาศินี ขจีรัมย์ รหัสนักศึกษา 612501058