Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวาน Diabetes Mellitus: DM, เพียเจ (2) - Coggle Diagram
โรคเบาหวาน
Diabetes Mellitus: DM
ข้อมูลผู้ป่วย
ขั้นย่อยที่1.การแสดงปฎอกิริยาสะท้อน(Reflexive Activity)อายุ0-1เดือน
1.Use of Reflex
2.ใช้assimilatory funtionในช่วงแรก
3.ใช้accommodatory function
ชั้นย่อยที่2 ปฎิกิริยาวงกลมขั้นแรก(Primary Circular Reactions)
แสดงปฎิกิริยาสะท้อนโต้ตอบอย่างตั้งใจไม่ใช่ทำโดยิัตโนมัติเช่นกำมือ แบมือ
เริ่มเกิดschemaเป็นตัวช่วยเลือกประสบการณ์ต่างๆให้เข้าพวกของมันเช่นเลืแกว่าใครเป็นแม่
Chema
เป็นโครงสร้างทางสติปัญญาที่เกิดจากการจัดระบบหรือปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
ใช้อวัยวะรับสัมผัสหรืออวัยวะมอเตอร์หลายๆอย่างรวมกันโดยเฉพาะการประสานสัมพันธ์ของสายตากับมือเช่นเด็กอาจจะเอื้อมมือไปหยิบลูกบอก
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ นางสมาน บรรจงการ เพศ หญิง อายุ 64 ปี อาชีพ ไม่มีอาชีพ
สถานภาพสมรส หม้าย เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ นางสมาน บรรจงการ เพศ หญิง อายุ 64 ปี อาชีพ ไม่มีอาชีพ
สถานภาพสมรส หม้าย เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีท
ขั้นที่4ย่อย.ความสัมพันธ์ของโครงสร้างความคิดชั้นที่สอง อายุ8-12เดือน
1.เด็กจะนำเอาsแhemaที่ได้มาจากชั้นก่อนๆไปประยุกต์ใช้ในสภาพการณ์ใหม่ๆคือการทดลองทำซ้ำๆเพื่อดูว่าอะไรเป็นต้นเหตุ และสามารถแก้ปัญหาขั้นพื้นฐานได้
2.รู้ว่านอนเหนือการรับรู้ยังมีอยู่ได้เช่นเอาของไปซ่อมเด็กก็จะพยายามหา
ขั้นที่5ย่อย ปฎิกิริยาวงกลมขั้นที่สามอายุ12-18 เดือน
1.เด็กต้องใช้ขบวนการaccommodationอย่างมาก
2.เริ่มนำสิ่งที่เคยรู้/ทดลองใหม่/เกิดผลต่าง/ขยายโครงสร้างความคิด
3.เป็นระยะการเริ่มคิดอย่างมีเหตุผลซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญของเชาว์ปัญญา
ขั้นที่6ย่อย การเริ่มต้นของความคิด อายุ18-24เดือนเกิดการเรียนรู้แบบการหยั่งรู้/รู้เข้าใจ แต่ไม่สามารถอธิบายได้
**ชั้นที่2ชั้นก่อนที่จะคิดหาเหตุผลเป็น(Pre-operational stage)อายุระหว่าง2-7ปี
ขั้นที่2.ขั้นของการคิดก่อนปฎิบัติการ(Preopertional stage)อายุ 2-7ปี
การนำความรู้ความจำจากในอดีต การคาดการณ์ล่วงหน้ามาประสบประสานกัน เพื่อตัดสินใจในปัจจุบัน
เริ่มมีความคิดเกี่ยวกับการกระทำ แต่ยังไม่เข้าใจว่ามีผลจะเป็นอย่างไร
มีการสร้างความคิดและความรู้ เริ่มมีการคิดสลับซับซ้อน และมีความคิดนั้นคำนึงถึงวิธีการดำรงชีวิตในสังคมด้วย
ขั้นที่2.พัฒนาการแบ่งเป็นขั้นย่อย2ขั้นคือ
*ขั้นย่อยที่1.ขั้นการคิดก่อนมีมโนทัศน์(Preconceptual stage)อายุ2-4ปี
*เป็นขั้นหัวเลี้ยวหัวต่อที่สำคัญที่เด็กจะเปลี่ยนจากการแสดงท่าทางมาเป็นการใช้ภาษาแทน
*ภาษที่ใช้เป็นภาษาที่ยึดเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง เช่น ถ้าถามว่าทำไมนาฬิกาไม่เดิน จะตอบว่าเพราะมันเหนื่อยสมมติให้คุ๊กตาพูดคุยได้
*ระยะนี้เริ่มมีการใช้เหตุผลบ้าง
ขั้นย่อยที่2.ขั้นการติดด้วยการหยั่งรู้(Perceptual of intuitive stage)อายุ4-7ปี
*มีการใช้เหตุผลมากขึ้นและทำตามเหตุผลนั้นๆแต่ ความคิดและความเข้าใจก็ยังขึ้นอยู่กับสิ่งที่เด็กมองเห็นเฉพาะหน้า มีพฤติกรรมมาเลียนแบบคนที่โตกว่า
*ในระยะนี้เด็กจะพยายามปรับขบวนการAssimilationและAccommodationให้สมดุลกัน
1.ใช้ภาษาเพื่อแสดงความคิดเห็นของตนเอง
2.ใช้ภาษาเป็นศูนย์กลางการติดต่อของตัวเองเช่นเด็กชอบทะเลาะกัน เพื่อแสดงว่าความของตนถูก
*ชั้นที่3ชั้ยนรู้จักใช้ความคิดไล่เลียงหาเหตุผลจากสิ่งที่เป็นรูปธรรม(Concrete operational Stage)อายุระหว่าง7-10ปี
ขั้นที่3ขั้นความคิดเชิงรูปธรรม อายุ7-10เริ่มรู้จักของจริง รู้จักมิติต่างๆเช่นกว้าง ยาว ลีกเริ่มเข้าใจเหตุผลและการเปรียบเทียบ
สรุป
ขั้นความคิดเชิงรูปธรรม
1.ภาพในสมอง:วาดภาพคิดในใจเช่นวาดแผนที่ไปรร
2.การทรงสภาพเดิมของสสาร:บอกไดว่าของเหลวของแข็งคงที่แม้เปลี่ยนรูปร่าง
ขั้นการคิดด้วยการหยั่งรู้4-7ปี
1.ภาพในสมอง:พาไปได้ แต่อธิบายทางไปไม่ได้
2.การทรงสภาพเดิมของสสาร:ยังไม่เข้าใจเรื่องการคงสภาพเดิม
ความเป็นมา
: จอห์น พีอาร์เจต์ นักจิตวิทยาชาวสวิส เพียเจต์ได้รับปริญญาเอกทางวิทยาศาสตร์สาขาสัตวิทยาที่มหาวิทยาลัยNeuchatel ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ แต่มีความสนใจทางด้านจิตวิทยา จึงได้สร้างทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาโดยทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม
แนวคิดของทฤษฎี:
1.พัฒนาการเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว ไม่คงที่และมีวัฒนาการ2.พัฒนาการทางร่างกายและการรับรู้ดำเนินต่อเนื่องกันไป3.พัฒนาการทางความคิดก็จะจะดำเนินไปอย่างมีลำดับชั้น
ขั้นที่4. ขั้นใช้ของความคิดไล่เลี่ยงหาเหตุผลจากสิ่งที่เป็นนามธรรม(Formal operational Stage)อายุระหว่าง11-15ปี
ขั้นที่4ขั้นของความคิดเชิงนามธรรมอายุ11-15ปี
เป็นระยะสิ้นสุดวัยเด็ก
สามารถคิดเชิงนามโดยใช้หลักทฤษฎีประกอบการคิด
พยายามวิเคราะหาสาเหตุ
สรุป
พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม