Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเมแทบอลิซึม(Metabolims), นางสาวกนกวรรณ งามทับทิม เลขที่4…
กระบวนการเมแทบอลิซึม(Metabolims)
Energy and Metabolims
การเปลี่ยนรูปพลังงานในสิ่งมีชีวิตมี 4 แบบ
Photochemical เป็นการเปลี่ยนรูปพลังงานรังสีมาเป็นพลังงานเคมี
Electrochemical เป็นการถ่ายพลังงานเคมีจากสารชนิดหนึ่งไปให้สารอีกชนิดหนึ่ง โดยการถ่ายอิเล็กตรอน
Chemical เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมี โดยการเปลี่ยนองค์ประกอบของอะตอมในโมเลกุลขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง
Mechamical คือการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้เป็น
พลังงานกล
เป็นปฏิกิริยาชีวเคมีในสิ่งมีชีวิตเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
เอนไซม์จะเป็นตัวควบคุมเพื่อทำให้กระบวนการเมแทบอลิซึมเกิดขึ้นเป็นขั้ยตอนตามลำดับอย่างมีระเบียบ
พลังงานที่ได้จากกระบวนการแคทาบอลิซึมของสารอาหารในร่างกายจะอยู่ในรูปของพลังงานความร้อน
พลังงานมีหน่วยเป็นจูล(Joule)
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานที่มีหน่วยเป็นจูลและแคลอรี 1cal = 4.184 J
1kcal = 4.184 kj = 4,184 J
การเปลี่ยนพลังงานจากหน่วยกิโลแคลอรี เป็นหน่วยกิโลจูล พลังงาน3,000kcal เท่ากับ 3,000 x 4.184 KJ =12,550 KJ
การเปลี่ยนแปลงของพลังงานและปฏิกิริยาเคมี
ปฏิกิริยาเอนเดอร์โกนิก มีพลังงานอิสระที่เกิดขึ้นมากกว่าพลังงานอิสระเริ่มต้น หรือพลังงานอิสระที่เปลี่ยนไปจากเดิม มี่ค่าเป็นบวก (+C)
ปฏิกิริยาเอกเซอร์โกนิก มีพลังงานอิสระเหลือน้อย จะให้ค่าของพลังงานอิสระที่เปลี่ยนไปจากเดิมมีเป็นค่าลบ(-G)
FAD & NAD
FAD (flavin adenine dinucleotide มีโครงสร้างและหน้าที่คล้ายๆกับ NAD (nicotinamide adenine dinucleotide)
สูตรโครงสร้างของ NAD ประกอบด้วย niacin คือ วิตามินB3
FAD ประกอบด้วย riboflavin ( วิตามินB2 )
ทั้ง 2 ตัวทำหน้าที่เป็นโคเอนไซม์ในระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน ช่วยให้เอนไซม์ dehydrogenase ทำให้โยกย้ายไฮโดนเจนจากโมเลกุลหนึ่งไปยังอีกโมเลกุลหนึ่ง
อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP)
สารที่พันธะเคมีพลังงานสูง ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการนำเอาพลังงานจากที่หนึ่งไปใช้อีกที่หนึ่ง
พันธะโควาเลนซ์ที่จับกับหมู่ฟอตเฟต เมื่อพันธะถูกทำลาย จะปล่อยพลังงานออกมาจำนวนมาก เป็นพันธะที่มีพลังงานสูง
ฟอสโฟริเลชัน คือ กระบวนการสังเคราะห์พันธะเคมีที่มีพลังงานสูงของ ATP เกิดขึ้นได้ 2 แบบ
การถ่ายทอดกลุ่มฟอสเฟตจากสารอาหารที่ีมีพันธะเคมีพลังงานสูงกว่ามาให้ ADP โดยตรง เรียกว่า ซับสเตรตฟอสเฟตโฟริเลชัน (substrate phosphorylation)
ในเซลล์มีเอทีพีอยู่ไม่มาก เพราะถูกใช้และถูกสร้างขึ้นใหม่ตลอดเวลา
ในเซลล์มีสารประกอบหลายตัวทีมีหมู่ฟอสเฟต และมีพลังงานสูงกว่า ATP
การเปลี่ยน AMP หรือ ADP กลับมาเป็น ATP ต้องรับหมู่ฟอสเฟตและใช้พลังงาน
สมการ 1+2
การรวมตัวของ ADP กับฟอสเฟต ในขณะที่เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปมห้ออกซิเจนในกระบวนการหายใจ ในไมโทคอนเดรีย เรียกว่า ออกซิเดทีฟ ฟอสเฟตโฟริเลชัน (oxidative phosphorylation)
เป็นการสร้าง ATP โดย NADH และ FADH2 สามารถถ่ายอิเล็กตรอนให้แก่ออกซิเจน ผ่านลูกโซ่ขนส่งอิเล็กตรอน ในไมโทคอนเดรีย ทำให้เกิดพลังงานที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่้าง ADP กับฟอสเฟตเป็น ATP
NADH 1โมเลกุลจะปลดปล่อยพลังงานเพียงพอสำหรับการสังเคราะห์ ATP 2.5 โมเลกุล ส่วน FADH2 ได้เพียง 1.5 ATPเท่านั้น
นางสาวกนกวรรณ งามทับทิม เลขที่4 รหัส622801004