Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
หูดหงอนไก่
(Condyloma accuminataand pregnancy)
Human papilloma virus (HPV) ชนิดที่ทําให้เกิดหูดหงอนไก่ที่่อวัยวะเพศ ส่วนใหญ่เป็น type 6 และ 11
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นรอยโรค
pap smear พบการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
อาการและอาการแสดง
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น และคัน
หูดขึ้นรอบ ๆ ทวารหนัก และในทวารหนัก
การรักษา
จี้ด้วย trichloroacetic acid จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ซึ่งทําให้ขัดขวางช่องทางคลอด
การพยาบาล
แนะนําการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
แนะนําส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การออกกำลังกายที่พอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการตืดเชื้อซ้ำ
โรคเอดส์
(Acquired immunodefiency syndrome)
อาการและ อาการแสดง
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่ม ผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies/ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทำให้เกิด severe vasoconstriction
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
ให้ยาหลังคลอดต่อทุกราย
CD4 < 500 cells/mm3
การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยก ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่ว ทําคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
จัดให้อยู่ในห้องแยก
งดให้นมบุตร
ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันทีและให้ AZT 2 มก./กก./วัน และติดตามการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา (แนวทางการให้ยา)
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้ PCP
ไข้หวัดซิกก้า**
ไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัวและแขนขา ปวดข้อ ปวดในกระบอกตา เยื่อบุตาอักเสบ
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนตบิอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา
วิธีการตรวจดีเอ็นเอ สามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
ติดตามอัลตร้าซาวการเจริญเติบโตของทารกทุก 4 สัปดาห์
การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง
แรกเกิด
เมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
การรักษา พยาบาล
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
การให้ยาพาราเซตามอล เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน หรือยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
โรคเริมที่อวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
Herpes simplex virus (HSV)
HSV type 1 เกิดเริมที่ปาก (Orolabial herpes infection)
HSV type 2 เกิดโรคเริมที่อวัยวะเพศ และทวารหนัก (anogenital herpes infection)
อาการและอาการแสดง
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
ไข้ หนาวสั่น ตาอักเสบ ตับ ม้ามโต ซึม
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
กรณที่มี Herpes lesion : C/S
การพยาบาล
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
ล้างมือก่อน และหลังสัมผัสทารก
สามารถให้นมได้ตามปกติ
ระยะตั้งครรภ์
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9 % หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1 % วันละ 2-3 ครั้ง
แนะนําเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
Hepatitis B core antigen (HBcAg)
ส่วนแกนกลางมี DNA ที่รูปร่างกลม ซึ่งจะตรวจไม่พบในเลือดหรือสารคัดหลั่งของร่างกาย แต่จะพบในนิวเคลียสตับของสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ
Hepatitis B e antigen (HBeAg)
Hepatitis B surface antigen (HBsAg)
อาการและอาการแสดง
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ ในรายที่มีอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
ผลกระทบ
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรรักษา
ระยะหลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
ทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก
universal precaution
HBIG (400IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีน ภายใน 7 วัน และให้ซ้ำภายใน 1 เดือน, 6 เดือน
TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
Exclusive breastfeeding
หากไม่มีรอยแผล
ก่อนการคลอด
หากปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mL TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง GA 28-32 wks.
หลีกเลี่ยงการทำสูติ การเจาะน้ำคร่ำ
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
คุมกําเนิด ตรวจสุขภาพประจําปี
BF
ทารก
Suction
ให้เร็ว หมด ทำความสะอาด
ติดตามความก้าวหน้า
ไม่กระตุ้นคลอด
หลัก Universal Precaution
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ซิฟิลิส (Syphilis)
แพร่ผ่านรกโดยตรง และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
การวินิจฉัย
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจเลือด
FTA-ABS (Fluorescent Treponemal Antibody AbsorptionTest)
การตรวจ VDRL หรือ RPR
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital syphilis
ระยะหลัง
พบอายุมากกว่า 2 ปี
แก้วตาอักเสบ(interstitial keratitis) ฟันหน้ามีรอยแหว่งเว้าคล้ายจอบ(Hutchinson ’s teeth) หูหนวก จมูกยุบ หน้าผากนูน กระดูกขาโค้งงอดผิดรูป
ระยะแรก
นํ้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ผิวหนังฝ่ามือฝ่าเทา้พองและลอกน้ำมูกมาก เสียงแหลม “wimberger’s sign” ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้งสองข้าง
พบตั้งแต่คลอดถึง 1 ปี
การรักษา
ระยะปลาย
ให้ยาBenzathine penicillin G 2.4 mU IM สัปดาห์ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU
ระยะต้น
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mU IM ครั้งเดียว แบ่งฉีดสะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวดโดยผสม 1 % Lidocaine 0.5-1 ml
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
ให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
แนะนำรับประทานยาและกลับมาตามนัด ติดตามผลการรักษา
ให้คําแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6 และ 12 เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
คัดกรอง VDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์ หรือห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
แนะนำพาสามีมาตรวจคัดกรอง
ดูแลด้านจิตใจ
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
Rubella Virus
แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
ติดเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปาก
ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7 วันก่อนผื่นขึ้นจนถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามผื่นขึ้นหรือไม่
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผื่นขึ้น หรือภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
ติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำ ๆ
Koplik's spot
ระยะออกผื่่น
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลง มาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ผื่นแดงเล็ก ๆ (erythematous maculopapular)
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
การรักษาพยาบาล
แนะนําพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนําดื่มให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนําให้ยุติการตั้งครรภ์
Therapeutic abortion
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง