Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive theory), นางสาวเสาวภา แสนไชย รหัสนักศึกษา…
ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีปัญญานิยมให้ความส าคัญกับความคิดความเชื่อว่ามีอิทธิพลต่อความรู้สึกและการ กระท าของมนุษย์
ทฤษฎีทางปัญญาของเบค
(Beck’s Cognitive Theory)
ผู้ริเริ่มทฤษฎีทางปัญญา
และการบําบัดพฤติกรรมทางปัญญา
แอรอน เบค (Araron Beck) จิตเวชชาวอเมริกัน
เริ่มทฤษฎีทางปัญญา และการบ าบัดพฤติกรรมทางปัญญา (Cognitive-behavitral Therapy: CBT) โดยเริ่มต้นศึกษาในผู้ป่วยซึมเศร้า โดยมีความเชื่อว่าภาวะซึมเศร้าเกิดจากการแปลความหมายของสิ่ง ต่างๆ ไปในทางลบ
ทฤษฎีทางปัญญาจําแนกปัญญาออกเป็น 3 ชนิด
1) เหตุการณ์ทางปัญญา (Cognitive event)
แสดงออกเป็นความคิด อัตโนมัติ (Autonomic thought)
2) กระบวนการทางปัญญา (Cognitive process)
ในผู้ป่วยซึมเศร้าจะเป็น กระบวนการข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือน (Distorted information processing)
3) โครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structure)
ความเชื่อที่ไม่ สมเหตุสมผล (Irrational belief)
ทฤษฎีทางปัญญาของเบค มุ่งตรวจสอบการรับรู้ที่บิดเบือน ความเชื่อที่ ผิดพลาดและจุดบอดของบุคคล ซึ่งนำไปสู่ปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่ไม่เหมาะสมต่อเหตุการณ์ การแก้ไข ปัญหาจะมุ่งที่การตรวจสอบความเป็นจริงโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อแก้ไขความคิดและ กระบวนการคิดที่ผิดพลาด ซึ่งจะทำให้บุคคลเกิดการมองตนเองและมองโลกตามความเป็นจริงมากขึ้น
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ผู้ป่วยเห็นถึงความเป็นจริงโดยสะท้อนพฤติกรรมทางบวกที่เป็นอยู่เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยเชื่อมั่นว่าตนเองมีคุณค่าและลดความคิดโทษตนเอง
ช่วยเหลือผู้ป่วยโดยการ เปลี่ยนแปลงความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล ช่วยให้มีการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ตัวอย่าง
ผู้ป่วยพูดถึงแต่ จุดอ่อนหรือข้อบกพร่องของตนเองให้พยาบาลฟัง ภายหลังการรับฟัง พยาบาลอาจกล่าวว่า “เรามา ช่วยกันดูสิว่าคุณมีจุดแข็งและข้อดีอะไรบ้าง”
สามารถใช้ข้อความที่ส่งเสริมความคิดทางบวก ในการกระตุ้นไม่ให้ผู้ป่วยจมอยู่กับความคิดทางลบ ตัวอย่างเช่น “เราทุกคนต่างเคยท าผิดด้วยกันทั้งนั้น”
นางสาวเสาวภา แสนไชย รหัสนักศึกษา 61122230082 เลขที่ 75