Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Metabolism of Fatty Acid - Coggle Diagram
Metabolism of Fatty Acid
:inbox_tray:
เมตาบอลิสมของกรดไขมัน (Metabolism of Fatty Acid)
Cellular Respiration
:inbox_tray:
Metabolism
:inbox_tray:
Cotabolism & Anabolism
:star:
กระบวนการเมแทบอลิซึม (Metabolism)
:inbox_tray:
กระบวนการเมแทบอลิซึม (Metabolism)
เมแทบอลิซึม
เป็นกิจกรรมทางเคมีที่เกิดขึ้นเฉพาะสิ่งมีชีวิตท่านั้น เช่น การสร้างพลังงาน การเจริญเติบโต การซ่อมแซมส่วนที่สึหรอ รวมทั้งการกำจัดของเสีย ขบวนการเมแทบอลิซึมแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
catabolism
หมายถึง ปฏิกิริยาที่ย่อยสลายลารประกอบขนาดไหญ่ให้เป็นสารโมลกุลขนาดเล็ก และปล่อยพลังงานเคมีที่อยู่ในพันธะไมลกุลนั้นๆ เรียกว่
Exergonie
เช่น
การย่อย แป้ง :arrow_right: กลูโคส :arrow_right: ATP
Anabolism
หมายถึง ปฏิกิริยาที่สร้าง หรือรวมตัวเอาโมเลกุลขนาดเล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่ ซึ่งต้องการพลังงาน เรียกว่า
Endergonic
เช่น เกิดการรวมตัวของกลูโคสหลายโมเลกุล เกิดเป็นแป้ง , ไกลโคเจน
นอกจากการเสียหรือรับพลังานแล้ว ปฏิกิยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตจะมีการถ่ายทอดอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยาoxidation และ reduction
oxidation
คือ ปฏิกิริยาที่โมเลกุลเกิดการสูญเสียอิเลคตรอน
reducton
คือ ปฏิกิริยาที่โมเลกุลได้รับอิเลคตรอน
:inbox_tray:
ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นปฏิกิริยา
แอนาบอลิซึม
โดยพืชสังเคราะห์กลูโคส จากคาร์บอนไดออกไซต์ และน้ำโตยมีคลอโรลล์ เป็นสารที่จับพลังงานแสงสว่าง จากดวงอาทิตย์ มาใช้ในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง ดังสมการ
(แสงสว่าง)
6CO2 + 12H2O :arrow_right: C,H,0 +60, +6H,O+ พลังงาน
การหายใจ ของพืชสีเขียวและสัตว์ที่ต้องการออกซิเจน จัดเป็นปฏิกิริยา
แคทาบอลิซึม
ดังสมการ
C6H12O6+6O2 :arrow_right: 6CO2+ 6H2O + พลังงาน
:star:ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชั้น (B-oxidation)
:inbox_tray:
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชั้น (B-oxidation)
1.Dehydrogenation ได้ 1FADH, = 1.5ATP
Hydration
3.Dehydrogenation ได้ 1NADH,' = 2.5ATP
Acylation ตัดพันธะที่ตำแหน่งเบต้า (สันลง 2c)
8 Acety-CoA = (3NADH + 1FADH, + 2 GTP) x 8
(TCA cycle)
:inbox_tray:
Solution
:inbox_tray:
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน (B- oxidation) ของกรดไขมันที่มี C เป็นเลขคู่
:inbox_tray:
palmitioy-CoA จะถูกออกซิไดซ์ทั้งหมด 7 ครั้ง และได้ 8 acety-CoA ดังสมการ
palmilayl-CoA + 7CoA +7FAD + 7NAD+ 7H2O :arrow_right: Sacety-CoA + 7FADH + 7NADH +7H+
จาก FADH, จะให้ 1 คู่อิเล็กตรอน และสังเคราะห์ได้ 1.5 ATP และ NADH จะให้ 1 คู่อิเล็กตรอน และสังเคราะห์ได้ 2.5 ATP ดังนั้น การออกซิไดซ์ 1 ครั้งและกำจัดคาร์บอน ออก 2 อะตอม จะสังเคราะห์ได้ 4 ATP ดังนั้น สมการรวมของการออกซีไดซ์ palmitoy!-CoA คือ
pabuituyl-CoA + TCo-A + 7O2 + 28Pi + 28ADP :arrow_right: Sacetyl-CoA + 28ATP + 7H2O
:star:การกระตุ้นกรดไขมัน (fatty acid activation steps)
:inbox_tray:
การกระตุ้นกรดไขมัน (fatty acid activation steps)
:inbox_tray:
การพากรดไขมันเข้าสู่ไมโตคอนเดรีย
Fatty acy! CoA esters : don't cross the inner mitocondrial membrane intact.
But it binds to the -OH group of Cornitine to form fatty acyl-Carnitine complexthis complex enters the matrix by facilitated diffusionIn the matrix Carnitine and fatty acy! CoA are regenerated.
Entrance of F.A to mitocondrial matrix (Carnitine shuttle)
1-Esterificaticn to CoA
Tranaestrification to Carmitine follswed bytranasport
3- Transestrification back to CoA.
:star:แคตาบอลิซึมของกรดไขมัน (Catabolism of fatty acids)
:inbox_tray:
ไขมันส่วนไหญ่จะอยู่ในรูปของไตรเอซิลกลีเซอรอล (riacylglycerol) หรือไตรกลีเซอไรด์ (riglyceride) โดยไตรเอซิลกลีเซอรอล 1 กรัม จะให้พลังงานประมาณ 38 kง ซึ่งให้พลังงานมากกว่าโปรตื่นและคาร์โบไฮเดรตเกือบ 2 เท่า
ในการที่จะย่อยไตรเอซิลกลีเซอรอลนั้น ไตรเอชิลลีเซออลจะต้องเปลี่ยนจากรูปที่ไม่ละลายน้ำไปเป็น รูปของไมเซลล์ (micelles) โดยต่อมน้ำดีจะหลั่งน้ำดีไปคลุกเคล้กับไตรเอซิลกลีเซอรอลที่สำไส้เล็ก ทำ
ให้เอนไซม์ไลเปส (water - soluble lipase) ทำหน้าที่ย่อยไตรเอซิลกลีเซอรอลแล้วจะได้เป็น
:pencil2:กรดไขมันอิสระ (free faltty acids)
:pencil2:กลีเซอรอล (glycerol)
ประมาณ 95%ของพลังานทั้งหมดของไตรเอซิลกลีเซอรอลจะยังคงอยู่ในรูปของสายโซ่ของกรดไขมัน
:inbox_tray:
การกระตุ้นกรดไขมัน (Fatty acid activation steps)
การพากรดไขมันเข้าสู่ไมโตคอนเดรีย (AcyI carnitineshuttle)
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเคชัน (B-oxidation)
:inbox_tray:
แคตาบอลิซึมของกรดไขมัน (Catabolism of fatty acids)
:inbox_tray:
กรดไขมัน จากการย่อยอาหาร จะถูกดุดซึมที่ลำไส้เล็กแล้วสังเคราะห์ขึ้นไหม่เป็น triacylglycero
Triacylglycerol + cholesterol + protein ได้เป็น Chylomicrons
Chy/omicons สามารถเคลื่อนที่ไปตามกระแสเลือดสู่เนื้อเยื่อไขมัน (Adipoyte) เพื่อเก็บไว้เป็นพลังงาน
Tiacylglycerol ในเนื้อเยื่อไขมัน (Adipocyte) จะถูกย่อยด้วยเอนไซม์ Triacyglycerol Lipase ได้เป็น glycerol กับ
กรดไขมัน
กรดไขมัน
ถูกส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยอาศัยไปกับ serum albumin
แคตาบอลิซึมของ
กรดไขมัน
เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เกิดในไมโตคอนเตรีย
การออกซิไดซ์กรดไขมันเกิดที่ Cตำแหน่งที่ 3 (เบต้าตาร์บอน) เรียกว่า
ปฏิกริยาเบต้าออกซิเดชัน (B-oxidation)
:star:ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน (B- oxidation) ของกรดไขมันไม่อิ่มตัว
:inbox_tray:
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน (B- oxidation) ของกรดไขมันไม่อิ่มตัว
การออกชิไดซ์กรดไขมัน oleate ทีมี 18 C และมี 1 พันธะคู่ (บนคาร์บอนตำแหน่งที่ 9)
ในขั้นแรก oete จะถูกเปลี่ยนเป็น oey-CoA (C19) ซึ่งจะถูกส่งไปยังผนังของไมโทคอนเดรียในรูปของ oleoy-caritine และจะเปลี่ยนกลับมาเป็น oey-CoA เหมือนเดิมเมื่ออยู่ในแมทริกซ์
(-2ATP)
จากนั้น ๐e๐y-CoA ก็จะถูกออกซิไดซ์ 3 ครั้ง ได้ 3 acely-CoA และ coenzyme A ester ของ
กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่มี 12 ดาร์บอน
ในการออกซิไดซ์ที่
ครั้งที่ 4 ซึ่งเป็สำแหนัขงพันระคู่
ที่มีการจัดเรียงตัวแบชิส เอนไซม์ enoy-CAisomerase ก็จะเปลี่ยน dodecenoy-CoA (C,) จากซิส-ไอโซเมอร์มาเป็นทรานส์-ไอโซเมอร์
(ไม่มีFADH, เกิดขึ้น ทำให้ได้ ATP ลดลง 1.5 ATP)
และเข้าสู่กระบวนการออกซิเดชันต่ออีก 5 ครั้งได้เป็น 6 acety-CoA
ดังนั้น e๐y-CoA จะถูกออกริไดซ์ทั้งหมด 8 ครั้งและได้ acety-CoA
Total ATP = 120 -1.5 = 118.5 ATP
:inbox_tray:
การออกซิไดซ์กรดไขมันที่มี 18 คาร์บอนและมี 1 พันธะคู่ (oleate)
:star:การออกซิไดซ์กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนเป็นเลขคี่
:inbox_tray:
การออกซิไดซ์กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนเป็นเลขคี่
การออกซิไดซ์กรดไขมันที่มีจำนวน C เป็น เลขคี่ เหมือนกับการออกซีไดซ์กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนเป็นเลขคู่ คือ เริ่มจากปลาย
ด้านที่มีหมู่คาร์บอกซิล
แต่ในการออคชิไดซ์ครั้งสุดท้ายจะเหลือ fatty acy-CoA ที่มีจำนวนคาร์บอน 3 อะตอม คือ propionyl-CoA
propiony-CoA จะถูกเปลี่ยนเป็น succiny-CoA และ succiny-CoA ก็จะเข้าสู่วัฏจักรกรดซิตริกต่อไป
:inbox_tray:
การออกซิไดซ์กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนเป็นเลขคี่
What is the total ATP produced from the B oxidation of C,fatty acid?
:star:Fatty Acid Synthesis
:inbox_tray:
การสังเคราะห์กรดไขมัน (Fatty Acid Synthesis)
การสังเคราะห์กรดไขมัน
เกิดขึ้นที่ไซโตพลาสมของเชลล์ตับ กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อไขมัน
การสังเคราะห์กรดไขมัน
จะเริ่มตันจาก Acety CoA แล้วค่อย ๆ เพิ่มจำนวนคาร์บอนขึ้นครั้งละ
2 อะตอม จนได้กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนตามต้องการ
การสังเคราะห์กรดไขมัน จะสังเคราะห์เมื่อเซลล์มีพลังงานเพียงพอ และมี Acety CoA เหลือใช้ แต่เอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์มีอยู่ในไซโตพลาสม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องนำเอา Acety CoA ออกมาจากไมโตคอนเตรียก่อน
:inbox_tray:
การสังเคราะห์กรดไขมัน (Fatty Acid Synthesis)
การสังเคราะห์กรดไขมันในไซโตพลาสมเริ่มตันจากอะซิติลโคเอ
รอบแรกได้เป็น Butyry!-ACP (ACP;Acy! Carrier Protein)
เพิ่มจำนวน C รอบละ 2 C จนมี 16C (Palmitate)
มากกว่า 16 C จะสร้างใน ER หรือไมโครโซม
:inbox_tray:
NADPH
นิโคตินาไมดอะดินึนไดนิวคลีโอไทด์ฟอสเฟต
เป็นโคแฟกเตอร์ที่ใช้ในการสังเคราะห์ กรดไขมันนิวคลีโอไกด์และกรดนิวคลีอิก ซึ่งต้องไช้ NADPH เป็นตัวให้อิเล็กตรอน
NADPH ตางจาก NADH ตรงที่มีหมู่ฟอสเฟตเพิ่มที่คาร์บอนตำแหน่งที่ 2 ของน้ำตาลไรโบสซึ่งจับกับเบสอะดีนี่น
:star:Ketone Bodies Metabolism
:inbox_tray:
เมตาบอลิซึมของคีโตนบอดี (Ketone Bodies Metabolism)
Ketone bodies
สารดิ์โทนบอดีส์ เป็นกลุ่มของสารประกอบที่สังเคราะห์ได้ในร่างกายเมื่อมีเมแทบอลิซึมของไขมันเพิ่มขึ้นมาก
จะมีสารคีโทนบอตีส์สังเคราะห์จาก
แอซีกิลโดเอมากขึ้นกว่าปกติ เรียกว่าภาวะดีโตชีส (ketosis)
สารกลุ่มนี้มีฤทธิ์เป็นกรดประกอบด้วย แอชีโตนกรดแอชีโตแอซีตึก และกรดบีตา-ไฮดรอกชีบิวกิริก คนที่เป็นโรคเบาหวานอย่างรุนแรงจะมีสารดีโทนบอดีส์ในเลือดงกว่าปกติ อาจทำให้เกิด**ภาวะเลือดเป็นกรด
(acidosis)
และพบสารคีโทนบอดีส์ในปัสสาวะ เช่นอาจมีกลิ่นแอชีโตนในปัสสาวะ อาจเรียกภาวะผิดปกติเหล่านี้ว่า
คีโทแอชิโคซิส Ketoacidosis**
กรณีที่ร่งกายได้รับกลูโดสนอย เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน ขาดอินซูลินที่ลำเลียงกลูโคสเข้าสู่เซลล์ เซลล์ต้องสลายกรดไขมันเพื่อใช้สร้างพลังงาน ปริมาณ acely CoA จะสูงขึ้น
:inbox_tray:
เมตาบอลิซึมของคีโตนบอดี (Ketone Bodies Metabolism)
:inbox_tray:
เมตาบอลิซึมของคีโตนบอดี (Ketone Bodies Metabolism)
เมื่อร่างกายต้องการพลังงานจะสลายดีโตนบอดี้
ที่เก็บไว้ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ได้เป็นacetyI CoA เข้าสู่ CTA-cycle