Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ, การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท,…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
ลักษณะและอาการ
Fractures of the Ribs
กระดูกซี่โครงหักอาจหักเพียง 1 หรือหลายซี่ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดบริเวณที่หัก และหายใจลำบาก
Flail chest
พบว่ากระดูกซี่โครงหักอย่างน้อย 2 แห่ง ทำให้ผนังทรวงอกบริเวณกระดูกซี่โครงที่หักขยับเขยื้อน ขณะที่pt.หายใจเข้าจะทำให้บริเวณที่หักยุบและขณะหายใจออกบริเวณที่หักจะยกสูงกว่าส่วนอื่น
มักเกิดร่วมกับ Pneumothorax เสมอ
Penetrating Chest Wounds
Tension Pneumothorax
เกิดจากการมีลมรั่วจากปอดข้างที่ได้รับบาดเจ็บ
Massive Hemothorax
มีเลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอดอย่างเฉียบพลัน
Cardiac temponade
เกิดจากเลือดเข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ
ภาวะฉุกเฉินรุนแรง
Tissue hypoxia
เกิดภายหลังการบาดเจ็บทรวงอกจนทำให้เกิดการเสียเลือด
Hypercapnia
ส่วนใหญ่เกิดจากการ Ventilation ไม่เพียงพอ จากการเปลี่ยนแปลงความดันในช่องอก
Metabolic acidosis
จากการเพิ่ม Lactic acid ในร่างกายที่มาจาก Tissue hypoperfusion จากภาวะ Shock
การพยาบาลเบื้องต้น
Primary survey
Airway
เริ่มจากการฟังเสียงหายใจแล้วค้นหาสิ่งแปลกปลอมที่ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
Breathing
ประเมินจากการ ดู คลำ เคาะ ฟัง เพื่อหาความผิดปกติของการหายใจรวมถึงการโป่งพองของเส้นเลือดดำที่คอ
Circulation
ประเมินโดยคลำชีพจร ประเมินอัตรา ความแรง จังหวะความสม่ำเสมอ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอก
ทำการสำรวจขั้นต้น
ทางเดินหายใจ
ดูแลการไหลเวียน
v/s
มี Early interventions เพื่อป้องกันแก้ไขภาวะ hypoxia
Immediately life-threatening injuries
Ribs หักแบบธรรมดา
พบFlail chest
ตรวจพบ Penetrating chest wounds
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท
Head Injury
หลักสำคัญในการพยาบาล คือ การป้องกัน Secondary brain injury โดยการให้ออกซิเจนเพียงพอ ควบคุมความดันโลหินให้เป็นปกติ
ชนิดการบาดเจ็บ
กลไกการบาดเจ็บ
Blunt
Penetrating injury
ความรุนแรง
พยาธิสภาพส่วนต่างๆของสมอง
Mild head injury GCS 13-15
สังเกตอาการ
สับสน อาเจียนพุ่ง
ชักเกร็ง
อัตราการหายใจเร็วหรือช้าผิดปกติ
สายตาพร่ามัว
บาดแผลบริเวณศีรษะบวมมากขึ้น
มีน้ำหรือเลือดไหลออกทางรูจมูกและรูหู
จัดท่านอนหนุนหมอน 3 ใบหรือนอนศีรษะสูง 30 องศา
ในรายที่หลับตลอดเวลา ควรปลุกตื่นทุก 1-2 ชั่วโมงอย่างน้อย 2 ครั้ง
ให้รับประทานยาแก้ปวด ทุก4-6 ชั่วโมง
ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่ปรึกษา พร้อมเบอร์โทรศัพท์
Moderate head injury GCS 9-12
ผู้ป่วยมักมีอาการอารมณ์เปลี่ยนแปลง ปวดหัวมาก ชัก อาเจียนมีการบาดเจ็บบริเวณใบหน้า
เกิดอาการ coma ตามมา
กลุ่มนี้ต้องประเมินอาการอย่างใกล้ชิด
แพทย์จะส่งpt.ทำ CT brain and Admit เพิ่อสังเกตอาการ Neurological sings อย่างใกล้ชิด
Severe head injury GCS 3-8
ผู้ป่วยในระยะนี้มักมีอาการและระดับความรู้สึกตัวลดลง มีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก
การพยาบาล
การประเมินสภาพของผู้ป่วยให้ถูกต้องครอบคลุมก่อน เพื่อช่วยตามลำดับ โดยการประเมินต้องประเมินให้เสร็จในเวลา 3-4 นาที
จัดทางเดินหายใจให้โล่ง ซึ่งต้องประเมินได้วาผู้ป่วยมีการหายใจไม่สะดวก
ห้ามเลือด และช่วยการไหบเวียนเลือดให้เพียงพอ ประเมินบาดแผล หยุดเลือดที่ออกจากบาดแผลเพื่อป้องกันภาวะ shock
การป้องกันภาวะสมองบวม
การป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่สมอง
ควบคุมภาวะชักเพื่อลดการใช้ออกซิเจนของสมอง
เตรียมความพร้อมผู้ป่วยไปรับการตรวจวินิจฉัยทางรังสี
กรณีที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจจากแพทย์แล้วแต่ไม่พยความผิดปกติ เมื่อแพทย์อนุญาติให้กลับบ้านได้ควรให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วย ญาติ
Spinal cord injuryl
การจำแนกความรุนแรง
Cord concussion
Cord contusion
Ischemia condition
Cord transection
การพยาบาล
การรักษาชีวิต และป้องกันการทำลายสันหลังเพิ่มเติม ขั้นแรกเป็นการประเมินเพื่อทราบความรุนแรงของการบาดเจ็บ
ณ จุดเกิดเหตุ
การดูแลเรื่องหายใจ การไหลเวียนเลือด รวมทั้งการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ให้สงสัยว่ามีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง และไขสันหลัง
ก่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ต้องจัดท่ากระดูกสันหลังให้นิ่งก่อน โดยผู้บาดเจ็บนอนบนกระดาน และใช้กายอุปกรณ์ประคองกระดูกคอ หรือวางถุงทรายประกบซ้าย ขวา แล้วเคลื่อนย้ายด้วยตชความระมัดระวังและรวดเร็ว
Acute stroke
Ischemic Stroke
Thrombotic Stroke
Atherosclerosis
Hemorrhagic Stroke
Aneurysm
Arteriovenous Malformation
ปัจจัย
เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศ
เปลี่ยนแปลงได้
ความดันโลหิต
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
โรคหัวใจ
อาการ
อ่อนแรง , อาการชา
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด
มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน
อาการบ่งชี้หลอดเลือดสมอง
F A S T
F : FACE เวลายิ้มพบว่ามุมปากขึ้างหนึ่งตก
A : ARMS ยกแขนไม่ขึ้น 1 ข้าง
S : SPEECH มีปัญหาด้านการพูดแม้ประโยคง่ายๆ พูดแล้วคนฟัง ฟังไม่รู้เรื่อง
T : TIME ต้องรีบไปรพ.โดยด่วนภายใน 3 ชั่วโมง
แนวทางการพยาบาลเบื้องต้นเมื่อผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน
จัดให้มีพยาบาล เจ้าหน้าที่ตัดกรอง เวรเปล เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องฉุกเฉินโดยเร็ว (3 นาที)
ซักประวัติอาการสำคัญที่มารพ.
การประเมิน นอกจากอาการและอาการอสดง
รายงานแพทย์ทันที
ส่งตรวจวินิจฉัยโรคตามแผนการรักษา
นางสาวกัญญาพัชร โตสกุล 6001211344 61A