Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่๖ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติ…
บทที่๖ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติ ของปัจจัยการคลอด
Passenger
ตัวอย่างการวางแผนการพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับท่าและส่วนนำของทารก
มีโอกาสเกิดอันตรายจากการยืดขยายและฉีกขาดมากผิดปกติของฝีเย็บและผนังช่องคลอด เนื่องจาก คลอดในลักษณะท้ายทอยอยู่ด้านหลัง
ผู้คลอดและทารกมีโอกาสเกิดอันตรายจากการคลอดยาวนาน การคลอดยาก และการคลอดติดขัด เนื่องจากทารกมีใบหน้าเป็นส่วนนำ
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด
1.บิดามารดาตัวโต
2.มารดาที่เป็นเบาหวาน
3.มารดาอ้วน
4.มารดาที่น้ำหนักเพิ่มมากในขณะตั้งครรภ์
5.ครรภเ์กินกำหนด
แฝดติดกัน(Conjoined Twins) อาจแบ่งออกได ้3 กลุ่ม
1.การแยกของทารกส่วนของครึ่งบนหรือครึ่งล่างของร่างกายไม่เป็นไปอย่างสมบูรณ์ เช่น ทารกที่เป็นหนึ่งคนแต่มีสองหัว หรือสองตัว
2.แฝดที่มีส่วนติดกันที่ส่วนบนหรือส่วนล่างของร่างกาย
3.แฝดติดกันที่ส่วนของลำตัว
ทารกหัวบาตร(hydrocephalus)
ในกรณีที่ทารกหัวบาตร หรือมีการคั่งของน้ำหล่อไขสันหลังใน ventricles มากเกินไป และทำให้ ขนาดของศีรษะทารกใหญ่ผิดปกติ มักมีความสัมพันธ์กับความผิดปกติอื่นคือ spina bifida ร่วมด้วยถึง 1/3 ท้องทารกมีขนาดใหญ่ ทำให้เกิดการคลอดยากนั้นอาจเกิดจาก
1.ท้องมานน้ำ
2.กระเพาะปัสสาวะโป่งมาก(ความพิการของท่อทางเดินปัสสาวะ)
3.เนื้องอกขนาดใหญ่ของไตหรือตับ
4.ทารกบวมน้ำ
การช่วยคลอดทารกติดไหล่
การที่ไหล่ไม่สามารถเคลื่อนผ่านช่องเชิงกรานได้โ้ดยการใช้หัตถการ มาตรฐานจำเป็นต้องใช้ หัตถการอื่นช่วย คลอดไหล่หลังจากที่ศีรษะของทารกคลอดแล้ว หรือ การที่ไหล่หน้าอัดแน่นอยู่ด้านหลัง ของกระดูกหัวหน่าว หรือ ภาวะที่ใชเ้วลาในการคลอดศีรษะถึงคลอดลำตัว (head-to-body delivery interval) นานกว่า 60วินาที
Prediction and Prevention of Shoulder Dystocia The American College of Obstetricians and Gynecologists (2002) reviewed studies and concluded that
Most cases of shoulder dystocia cannot be accurately predicted or prevented.
Elective induction of labor or elective cesarean delivery for all women suspected of having a macrosomic fetus is not appropriate.
Planned cesarean delivery may be considered for the nondiabetic woman with a fetus whose estimated fetal weight is > 5000 g or for the diabetic woman whose fetus is estimated to weigh > 4500 g. (ไทย พิจารณาที่ 4500 g และ 4000 g ตามลา ดบั)
การช่วยเหลือและการพยาบาล
Call for help เรียกขอความช่วยเหลือจากสูติแพทย ์กุมารแพทย ์วิสัญญีแพทย ์พยาบาล ตลอดจน เจา้หน้าที่อื่นๆ
ให้ผ้คลอดหยุดเบ่ง ห้ามกดบริเวณยอดมดลูก และให้ส่วนปัสสาวะ
ตัดหรือขยายแผลฝีเย็บให้กว้างขึ้นในกรณีที่ฝีเย็บแน่นมาก
ใช้ลูกยางแดงดูดมูกในจมูกและปากทารกให้หมด
ทำ Suprapubic pressure คือการกดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าวในขณะที่ให้ผู้คลอดเบ่ง และผู้ทำคลอด ดึง ศีรษะทารกลงสู่ด้านล่างด้วยความนุ่มนวล มีวิธีการกด 2 วิธีคือ
5.1 Mazzanti maneuver โดยให้ใช้มือกดไปตรงๆบริเวณเหนือ หัวหน่าว
5.2 Rubin maneuver โดยให้ใช้มือกดโยกทางด้านข้างบริเวณ เหนือหัวหน่าวที่คิดวา่เป็นด้านหลัง ของไหล่ทารก
ทำ McRoberts maneuver โดยให้ผู้คลอดงอสะโพกทั้งสองข้างอย่างมากในท่านอนหงายเพื่อให้ต้นขาทั้ง สอง ข้างชิดติดกับบริเวณหน้าท้อง
All- fours หรือ Gaskin maneuver โดยให้ผู้คลอดพลิกตัวจากท่าขบนิ่วเป็นท่าคลานสี่ขา
Squatting โดยให้ผู้คลอดอยู่ในท่านั่งยองๆ
Rotational maneuver
9.1 Woods screw คือ การใช้มือใส่ไปทางด้านหลังของไหล่หลังทารกแล้วหมุนไหล่ไป 180องศา แบบ corkscrew จะทำให้ไหล่หน้าที่ติดอยู่ถูกหมุนมา คลอดออกทางด้านหลังได้
9.2 Rubin maneuver คือ การสอดมือเข้าไปในช่องคลอดคลำ ไปทางด้านหลังของไหล่หน้าแล้วดันให้เกิด adduction ของไหล่ไปทางหน้าอกจะทำ ให ้Bisacromial diameter ลดลงและไหล่หน้าก็จะหลุดออกมา
Posterior arm extraction วิธีนี้ควรจะให้การดมยา สลบในมารดาและใช้ยาคลายมดลูก ( Tocolytic drugs) ร่วมด้วยเพื่อให้มดลูกคลายตัว
Clavicular fracture มี 2 วิธีที่ใช้ในการทำให้กระดูกไหปลาร้าหัก
11.1 ใช้มือดันบริเวณกลางของกระดูกไหปลาร้าของไหล่หน้าไปในทิศทางขึ้นด้านบนไปชนกับ กระดูก หัวหน่าว
11.2 ใช้กรรไกรตัดกระดูกไหปลาร้า ซึ่งวิธีนี้ใช้ในกรณีที่ทา รกเสียชีวิตแล้วเท่านั้น
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077 รุ่น 35 ชั้นปีที่ 4