Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทละคร เรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง, images, เทรซี่ โอคอนเนอร์ ม…
บทละคร
เรื่อง
อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง
ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระพุทรเลิศหล้านภาลัย (ร.2)
จุดมุ่งหมายในการแต่ง :
เพื่อใช้ในการแสดงละครใน
ละครใน เป็นละครรำ
ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน
ความเป็นมา : มีเค้าเรื่องมาจากขวาที่เรียกว่า นิทานปันหยี
ซึ่งไทยรับวรรณคด่เรื่องนี้มาตั้งแต่สมัย
อยุธยา
ลักษณะคำประพันธ์ : เป็นกลอนบทละครแต่มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพในแต่ละวรรคจะขึ้นต้นด้วยคำว่า "เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกล่าวบทไป"
ความสุนทรียของงานประพันธ์
ตัวละครสำคัญ :
อิเหนาหรือระเด่นมนตรี : •เป็นโอรสขอวท้าวกุเรปันเป็นชายรูปงามมีเสน่ห์และนิสัยเจ้าชู้
•เชี่ยวชาญในการใช้กริชและกระบี่เป็นอาวุธ
.ท้าวกุเรปัน : • เป็นกษัตริย์ครองกรุงกุเรปัน
•มีน้องชาย3องค์ ท้าวดาหา ท้าวกาหลัง และท้าวสิงหัดส่าหรี่
•ทรงหยิ่งทระนงในศักดิ์ศรี
ท้าวดาหา : •กษัตริย์ครองกรุงดาหาเป็นบิดาของบุษบา
•ใจยุติธรรม มีความเด็ดขาด
บุษบาหนึ่งหรัด : •ธิดาของท้าวดาหา
•เมื่อตอนประสูติมีเหตุอัศจรรย์คือมีกลิ่นหอมตลบอบอวลไปทั่วทั้งวังดนตรี แรรสังข์ก็ดังขึ้นเองโดยไม่มีผู้บรรเลง
•มีตำแหน่งเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย
ท้าวกะหมังกุหนิง : •ครองเมืองกระหมังกุหนิงมีน้องชาย2คน ระตูปาหยังและระตูประหมัน มีโอรสชื่อวิหยาสะกำซึ่งรักราวกับแก้วตาดวงใจ
•ถูกอิเหนาแทงด้วยกริช ถึงแก้ความตาย
วิหยาสะกำ : •โอรสของท้าวกะหมังกุหนิงเป็นหนุ่มรูปงาม มีฝีมือในการใช้ทวนเป็นอาวุธมีจิตใจอ่อนไหว หลงรักบุษบา
•ถูกทวนของสังคาามระตาถึงแก่ความตาย
บทประพันธ์ที่สำคัญ
บทอาขยาน "ชมดง"
•เป็นบทนิราศ ที่มีการเดินทางพรรณนาถึงนางอันเป็นที่รัก เน้นการพรรณนาชมนก ทั้ง8 ชนิด และชมพันธ์ไม้7ชนิด
1.เบญจวรรณ/วัลย์ชาลี/วัน
2.นางนวล/ต้นนางนวล/ นวล(ผู้หญิง)
3.(นก) จากพราก/ต้นจาก/จากลา
4.นกแขกเต้า/ต้นเต่าร้าง/ร้าง(ห่างเหิน)
5.นกแก้ว/ต้นแก้ว/แก้วตา(ผู้หญิงที่รัก)
ตระเวนไพร/ตะเวนไพร/กรรมเวร
7.เค้าโมง/ต้นโมง/โมง(วันเวลา)
8คับแค/ต้นแค/คับใจ(อึดอัดใจ)
วิเคราะห์คุณค่างานประพันธ์
คุณค่าด้านเนื้อหา
1.โครงเรื่อง
•1.1แนวคิดของเรื่อง-แสดงให้เห็นถึงความรักที่พ่อมีต่อลูกที่รักและตามใจลูกทุกอย่างแม้กระทั่งตัวตายก็ยอม
•1.2 ฉาก-อิเหนาเป็นเรื่องชวาซึ่งผู้แต่งได้ดัดแปลงให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมไทยอย่างกลมกลืน
•1.3ปมขัดแย้ง-มีข้อขัดแย้งหลายปมแต่ละปมปัญหาเป็นเรื่องที่อาจเกิดได้ในชีวิตจริง
เช่น ปมแรก-ท้าวกุเรปันจะให้อิเหนาอภิเษกกับบุษบาแต่อิเหนาหลงรักจินตะหราไม่ยอมอภิเษกกับบุษบา
2.กลวิธีในการแต่ง
•จินตนาภาพ-กวีใช้คำบรรยายได้ชัดเจนทำให้ผู้อ่านคิดภาพตามได้อรรถรสในการอ่าน
3.ความรู้ความคิด-แสดงให้เห็นความเชื่อประเพณีและพิธีกรรมโบราณและการทำศึกสงคราม
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ลีลาในการแต่งคำประพันธ์ :
•เสาวรจนีหรือชมโฉม
•นารีปราโมทย์หรือโอ้โลม
•พิโรธวาทังหรือบริภาษ
•สัลลาปังคพิสัยหรือบทคร่ำครวญ
สัมผัสสระ
สัมผัสอักษร
การเล่นคำพ้องเสียง
การเล่นคำพ้องรูป
การใช้คำศัพท์ภาษาชวา เช่น ระตู=เจ้าเมืองเล็กๆ
มีการใช้คำไวพจน์
ใช้อุปมาโวหาร
อุปลักษณ์
อติพจน์
คุณค่าด้านสังคม
1.เรื่องฤกษ์ยาม-โหรทำนายดวงชะตา
2.เรื่องบุญกรรม
3.การแต่งตัวตามวันและวัน-เพื่อเป็นมงคลแก่ผู้สวมใส่
4.เรื่องบุพเพสัยนิวาสและเทพอุ้มสม
5.พิธีธรรม -พิธีเบิกโขนทวาร
-พิธีฟันไม้ข่มนาม
ค่านิยมที่ปรากฏ
1การเลือกคู่ครอง-สมรสในวงศ์เดียวกัน
2.การทำศึกชิงนาง
3.การมีเมตตาธรรมของกษัตริย์
เทรซี่ โอคอนเนอร์ ม.4/10 เลขที่52