Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจําแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage) - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจําแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage)
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
Primary survey และ Resuscitation
การเสียเลือดจากการบาดเจ็บ
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock
ในระหว่างการทำPrimary survey และ Resuscitation
พยาบาลควรทำ
Immobilization เพื่อจัดกระดูกให ้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ
ใส่ Splint ให ้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหัก เพื่อลดการขยับเลือน
Secondary survey
การประเมินผู้ป่วย
การซักประวัติจากผู้ป่วย ผู้นำส่ง ผู้ประสบเหตุ
สาเหตุการเกิด
ระยะเวลา
สถานที่
การรกัษาเบื้องต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test
ในผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวดี
กระดูกแขนขา
กระดูกซี่โครง
ให ้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternum
บีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหัก
ของกระดูกซี่โครง
กระดูกเชิงกราน
ออกแรงกดบริเวณ anterior superior iliac spine ทั้ง
สองข้างพร้อมกันในแนว Anterior-posterior
บีบด้านข้างเข้าหากัน
กดบริเวณ Pubic symphysis
ถ้ากระดูกหักผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวด
กระดูกสันหลัง
กระดูกสันหลังส่วนคอ ให้ผู้ป่วยยกคอ ในท่านอนหงาย ผู้ป่วยที่สามารถทำได ้แสดงว่าอาจไม่มี การหักของกระดูก
ให้ผู้ป่วยนอนหงายพลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง ใช้มือ
คลำตามแนวกระดูก
หากมีการบาดเจ็บกระดูก สันหลังจะพบอาการกดเจ็บบวมผิดรูป
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรยใ์ห้ครอบคลุม กระดูก ส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลาย
กระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
Recognition
Reduction
Retention
Immobilization เป็นการประคับประคองให้กระดูกมีการ
เคลื่อนที่น้อยที่สุด
Rehabilitation
Reconstruction
Refer
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ผู้ป่วย Pelvic fracture ร่วมกับภาวะ
Hypovolemic shock ต้องคํานึงถึงภาวะ unstable pelvic fracture
การตรวจร่างกาย
ดู พบ Progressive flank พบ Scrotum และ Perineum บวม
คลํา พบกระดูก Pelvic แตก PR examination พบ high-riding prostate gland และ มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหว จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่่ำ
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย โดยการส่ง film pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding โดยการทํา Stabilization pelvic ring
จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
Crush Syndrome
ภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อ
บริเวณ thigh และ calf muscle
อาการที่พบ
Dark urine,
พบ Hemoglobin ได้ผลบวก
Hypovolemia,
Metabolic acidosis,
Hyperkalemia,
การช่วยเหลือเบื้องต้น
แพทย์จะพิจารณาให ้ Sodium bicarbonate เพื่ออช่วย
ลด Myoglobin ที่ไปทำลาย Tubular system
ในระหว่างการให้สารน้ำและยาจะประเมิน Urine output ให ้ได ้ 100 cc./ชั่วโมงจนกว่าปัสสาวะจะใส (clear myoglobinuria)
Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด อาจเป็นการบาดเจ็บแบบ
Blunt trauma หรือ Penetrating wound
ลักษณะของการบาดเจ็บ Hard signs
Pulsatile bleeding
บริเวณบาดแผล hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลําได้thrill ฟังได้bruit และ 6Ps
ภาวะผิดปกติของชีพจรนั้นอาจสับสนกับภาวะShock
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ทํา Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด
Fluid resuscitation ในรายที่กระดูกผิดรูปให้ทําการจัดกระดูกให้เข้าที่แล้วทําการ Splint
3.7 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นภายหลังการจมน้ํา
น้ําจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่า เลือด(พลาสมา)
หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวายได้
เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
น้ําทะเลที่สําลักอยู่ในปอด จะดูดซึมน้ําเลือด (พลาสมา)
ปอดบวมน้ํา (pulmonary edema)
ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (hypovolemic)
หัวใจเต้นผิดปกติหัวใจวายหรือเกิดภาวะช็อก
อาการ
หมดสติ : หยุดหายใจ บางคนหัวใจอาจหยุดเต้น (คลําชีพจรไม่ได้)
ไม่หมดสติ
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน
ไอมีฟองเลือด
กระวนกระวาย
ความดันเลือด
ต่ํา หรือภาวะช็อก
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพของผู้จมน้ํา
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ํา
อายุ
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจทน้ํา
Diving reflexes
สุขภาพผู้จมน้ํา
การรับประทานอาหารที่ที่อิ่มใหม่ๆ
การมึนเมาจากสุรา
ความรู้ในการว่ายน้ํา
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ํา
อุณหภูมิของร่างกายลดลงอย่ารวดเร็ว
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ํา
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจและปอด
ผู้ป่วยมีการสูดสําลักสารน้ําเข้าไปจะเกิดพยาธิสรีรภาพกับปอดอย่างรุนแรง
Tonicity ของสารน้ํา
Toxicity
Particles และ micro-organism
ผู้ป่วยที่ไม่มีการสําลักน้ํา
ภาวะสมองขาดออกซิเจน
เกิดneurogenic pulmonary edema
เกิด capillary wall damage และ capillary pressure ที่
ปอดเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
เกิด cerebral hypoxia
ภาวะสมองบวมตามมา
ภาวะ circuratory arrest ทําให้ cerebral perfusion ลดลง
สมองขาดเลือด Ischemic brain
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
หัวใจเต้นผิด จังหวะหรือหัวใจวายได้
ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
ภาวะปอดบวมน้ํา (pulmonary edema)
ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (hypovolemia)
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
acidosis จาก เยื่อบุถุงลมอักเสบ
น้ําจืดเกิด hyponatremia, hypochloremia, hyperkalemia
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
ผลกระทบจากอุณหภูมิของร่างกายต่ํา
T 37 - 35 องศา หนาวสั่น ทรงตัวไม่อยู่
T 35 - 32 องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T 32 - 28 องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า หายใจช้า
T 28 - 25 องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกติ
T 25 - 21 องศา หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
การปฐมพยาบาล
กรณีที่คนจมน้ํารู้สึกตัวดี สําลักน้ําไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะน้าให้ไปพบแพทย์เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ
ให้ทําการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
จับผู้ป่วยนอนคว่ําแล้ว ใช้มือ 2 ข้าง วางอยู่ใต้ท้องผู้ป่วย ยกท้องผู้ป่วยขึ้นจะช่วยไล่น้ําออกจากท้องให้ไหลออกทางปาก
แล้วจับผู้ป่วยพลิกหงาย และทําการเป่าปากต่อไป
ถ้าคลําชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น ให้ทําการนวดหัวใจทันที
ผู้ป่วยยังหายใจได้เอง หรือช่วยเหลือจนหายใจได้แล้ว ควรจับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง และศีรษะหงายไปข้างหลัง
ส่งผู้ป่วยที่จมน้ําไม่ว่าจะมีอาการหนักเบาเพียงใด ไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกรายในรายที่หมดสติและหยุดหายใจ