Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 1
การป้องกันและการควบคุมการติดเชื้อ
1.1 วงจรการติดเชื้อ
1.1.2 แหล่งกักเก็บเชื้อโรค
สัตว์
พืช
คน
ดิน
แมลง
1.1.3 ทางออกของเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจ
น้ำมูก
ลมหายใจ
เชื้อออกทางระบบสืบพันธุ์
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
เชื้อจากมารดาสู่ทารกในครรภ์โดยผ่านทางสายสะดือ
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
1.1.1 เชื้อก่อโรค
3.เชื้อรา
Candida albicans
Canduda glabrata
4.ไวรัส
เชื้อหัด
อีสุกอีใส
ไข้หวัดใหญ่
Corona virus
2.โปรโตซัว
Entamoeba histolytica ทำให้เกิดโรคบิด
5.พยาธิ
พยาธิเส้นด้าย
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
1.แบคทีเรีย
Gram positive
Gram negative
1.1.4 หนทางการแพร่กระจายเชื้อ
การหายใจ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
การสัมผัส
1.1.6 ความไวในการรับเชื้อของบุคคล
ขึ้นอยู่กับ
ธรรมชาติของเนื้อเยื่อที่รับ
เชื้อ
สุขภาพทั่วไปของแต่ละบุคคล
ลักษณะของเชื้อจุลชีพ
ภูมิคุ้มกันโรค
1.1.5 ทางเข้าของเชื้อ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ทางเดินหายใจ
ผิวหนังที่ฉีดขาด
1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
1.2.4 ความร้อนหรือเย็น
ความร้อนหรือเย็นจัดจนเกินไปมีความไวต่อการติดเชื้อ
มากกว่า
1.2.5 โรคภูมิแพ้หรือโรคเรื้อรัง
มีความต้านทานต่ำกว่าคนปกติ จึงทำให้ความสามารถในการต่อสู้กับเชื้อโรคที่รุกรานเข้ามาน้อยลง
1.2.6 เพศ
มักพบโรคปอดบวมในผู้ชายมากกว่า
พบโรคอีดำอีแดงในผู้หญิงมากกว่า
1.2.7 กรรมพันธุ์
บางคนขาดสาร Immunoglobulin ซึ่งเป็นตัวการสำคัญในการสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
1.2.8 อายุ
เด็กมีความไวต่อการติดเชื้อง่ายกว่าผู้ใหญ่
1.2.3 ความอ่อนเพลีย
พักผ่อนไม่เพียงพอจะติดเชื้อง่ายกว่า
คนที่ทำงานหนักเกินไป
1.2.2 ภาวะโภชนาการ
บุคคลที่ได้รับอาหารครบถ้วนความไวต่อการติดเชื้อจะน้อยกว่าคนที่ขาดอาหาร
1.2.1 ความเครียด
ความเครียดเกิดขึ้น จะมีความไวต่อการติดเชื้อได้ง่าย
1.2.9 การรักษาทางการแพทย์บางชนิด
คนที่ได้รับการรักษา
ด้วยการฉายรังสี มีการทำลายเนื้อเยื่อบริเวณนั้น
1.2.10 อาชีพ
คนเลี้ยงนกพิราบมีโอกาสติดเชื้อไวรัส H1N1
1.5 การควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
1.5.1 Standard precautions
1) ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือสบู่ยาฆ่าเชื้อทุกครั้ง
(2) การล้างมือภายหลังสัมผัสผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อนเชื้อโรค
(3) การล้างมือก่อนทำหัตถการ
(1) การล้างมือธรรมดา
(4) การใช้ Alcohol hand rub ทดแทนการล้างมือในกรณีเร่งด่วน
2) สวมเครื่องป้องกันเมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งผู้ป่วย
(1) ถุงมือ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ถุงมือสะอาด
(2) เสื้อคลุม
(3) ผ้าปิดปากและจมูก
3) หยิบจับอุปกรณ์ที่มีคมที่ใช้กับผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง ทิ้งอุปกรณ์มีคมที่ใช้แล้วในภาชนะที่เหมาะสม
4) ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมที่เปื้อนเลือดหรือสารคัดหลั่งอย่างถูกวิธี
5) บรรจุผ้าเปื้อนในถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น
6) ทำให้ปราศจากเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ทุกชิ้นที่ใช้กับผู้ป่วยแล้ว
7) หลีกเลี่ยงการเกิดบาดแผลขณะปฏิบัติงาน โดยเฉพาะถูกเข็มที่ใช้กับผู้ป่วยตำ
1.5.2 Transmission-base precautions
1) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
(1) แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อไว้ในห้องแยกพิเศษ และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
(2) ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
(3) อากาศภายในห้องแยกควรถูกดูดออกภายนอกโดยตรงหรือผ่านเครื่องกรองที่มีประสิทธิภาพ
(4) ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด N95
(5) จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
2) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละออง น้ำมูก น้ำลาย
(3) หากไม่มีห้องแยกและไม่สามารถจัดให้ผู้ป่วยอยู่รวมกันได้ ควรจัดระยะห่างระหว่างเตียง ไม่น้อยกว่า 3 ฟุต
(4) ผู้ที่จะเข้าไปในห้องผู้ป่วยหรือดูแลผู้ป่วยต้องใส่ ผ้าปิดปาก-จมูก เมื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะ 3 ฟุต
(2) ผู้ป่วยด้วยโรคเดียวกัน จัดให้อยู่ห้องเดียวกันได้
(5) จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย หากจำเป็นควรให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปาก-จมูกชนิดชนิดใช้แล้วทิ้ง
(1) แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยก และปิดประตูทุกครั้งหลังเข้าหรือออกจากห้องผู้ป่วย
3) การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส
(3) สวมเสื้อคลุม หากคาดว่าอาจสัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง หนอง อุจจาระของผู้ป่วย
(4) จำกัดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
(2) ถอดถุงมือและล้างมือด้วยสบู่ผสมน้ำยาฆ่าเชื้อก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
(5) หากสามารถทำ ได้ควรแยกอุปกรณ์ชนิด Non-critical items สำ หรับผู้ป่วยโดยเฉพาะ หากไม่สามารถแยกอุปกรณ์ได้ต้องทำความสะอาดและทำลายเชื้อก่อนนำไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น
(1) สวมถุงมือเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย และเปลี่ยนถุงมือคู่ใหม่
4) การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อต้องกระทำอย่างถูกต้อง
5) การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างถูกต้องและมีนโยบายที่แน่นอน
6) การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
7) การติดเชื้อของบุคลากรในขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์อาจจะได้รับเชื้อในขณะปฏิบัติงานได้ 3 ทาง
มือมีบาดแผลหรือผิวหนังแตกเป็น
รอย
เลือดหรือสารคัดหลั่งกระเด็นเข้าตา ปาก จมูก
ถูกเข็มตำหรือของมีคมบาด
1.3การติดเชื้อในโรงพยาบาล
1.3.1 องค์ประกอบของการติดเชื้อในโรงพยาบาล
2) คน
บุคลากรในโรงพยาบาล
ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วย
เด็กเล็กที่มีภูมิต้านทานยังพัฒนาไม่เต็มที่
ผู้สูงอายุ
3) สิ่งแวดล้อม
อาคาร
บุคลากรในโรงพยาบาล
เครื่องมือ เครื่องใช้
ญาติที่มาเยี่ยม
สถานที่
1) เชื้อโรค
ส่วนใหญ่เป็นเชื้อประจำถิ่น
พบมากที่สุดในไทยเชื้อ
แบคทีเรียกรัมลบทรงแท่ง
1.3.2 การแพร่กระจายเชื้อ
3) การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ
การสูดหายใจเอาเชื้อที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ
4) การแพร่กระจายเชื้อโดยการผ่านสื่อนำ
เกิดจากการที่มีเชื้อจุลชีพปนเปื้อนอยู่
เลือด
น้ำ
อาหาร
ยา
สารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำแก่ผู้ป่วย
2) การแพร่กระจายเชื้อโดยฝอยละออง
เกิดจากการสัมผัสกับฝอยละอองน้ำมูกน้ำลายที่มีขนาดใหญ่ก ว่า 5 ไมครอน
เกิดขึ้นในระยะไม่เกิน 3 ฟุต
ไอ จาม พูด และร้องเพลง
5) การแพร่กระจายเชื้อโดยสัตว์พาหนะ
เป็นการแพร่กระจายเชื้อโดย
สัตว์นำโรค
คนได้รับเชื้อจากการถูกแมลงหรือสัตว์กัด
แมลง
เชื้อที่มีอยู่ในตัวแมลงถูกถ่ายทอดสู่คน
การถูกยุงที่มีไวรัสเด็งกี่กัด
ถูกยุงที่มีเชื้อมาลาเรียกัด
แมลงวันเกาะขยะ
แล้วมาเกาะอาหาร
1) การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส
(1) การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรง
การพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย
การอาบน้ำเช็ดตัวผู้ป่วย
การทำแผล
(2) การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสโดยอ้อม
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัสกับสิ่งของ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อก่อโรค
ของเล่นในแผนกเด็กป่วย
เครื่องช่วยหายใจ
ลูกบิดประตู
1.4 การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ
1.4.1 การทำลายเชื้อ
2) การต้ม
3) การใช้สารเคมี
1) การล้าง
4) การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ
(4) การทำแผล ล้างแผลให้สะอาดด้วย Steriled normal saline
(5) การทำความสะอาดฝีเย็บก่อนคลอด
(3) การเตรียมผิวหนัง
(6) การสวนล้างช่องคลอด
(2) การล้างมือก่อนทำหัตถการ
(7) การทาช่องคลอดก่อนผ่าตัดใช้ Iodophor 10%
(1) การล้างมือธรรมดา
1.4.2 การทำให้ปราศจากเชื้อ
1) วิธีการทางกายภาพ
(2) การใช้รังสี
รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา การทำให้ปราศจากเชื้อด้วยวิธีนี้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องให้รังสีสัมผัสโดยตรงกับเชื้อจุลชีพ
รังสีอุลตร้าไวโอเลท สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด
รังสี UV อาจช่วยลดจำนวนเชื้อก่อโรคที่มีอยู่ในอากาศในห้องผ่าตัด
(1) การใช้ความร้อน
การใช้ความร้อนแห้ง
การต้ม
การเผา
การใช้ความร้อนชื้น
2) วิธีการทางเคมี
(2) การใช้ High-level disinfectant
วิธีการเก็บรักษาที่ดีมีดังนี้
เก็บไว้ในตู้มีฝาปิดมิดชิด ไม่มีแมลงหรือสัตว์เข้าไปรบกวน
เก็บไว้ในที่แห้ง ห่างจากอ่างล้างมือหรือบริเวณที่เปียกชื้น
เก็บไว้ในปริมาณพอเหมาะ พอใช้ ไม่ควรสะสมไว้มากเกินไป
วัสดุปราศจากเชื้อห่อพลาสติกหรือกระดาษ
วัสดุที่ห่อและทำให้ปราศจากเชื้อในสถานพยาบาล
(1) การใช้แก๊ส
Ethylene oxide gas (EO)
เป็นวิธีทำให้ปราศจากเชื้อที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน
เหมาะสำหรับวัสดุที่ไม่สามารถทนความร้อนและความชื้นได้
Formaldehyde
มีฤทธิ์ทำลายเชื้อจุลชีพได้อย่างกว้างขวาง
สามารถอบให้ปราศจากเชื้อได้ภายใน 6-12 ชั่วโมง
1.6 กระบวนการพยาบาลในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
1.6.1 การประเมินความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของผู้ป่วย
1.6.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาล
1) เสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อสู่ผู้อื่น
2) มีโอกาสเกิดการระบาดของโรคในชุมชน
1.6.3 การวางแผนและให้การพยาบาล
1) ล้างมือก่อนและหลังการให้การพยาบาลผู้ป่วย
2) ใช้หลัก Airborne precautions
3) ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยและญาติ
4) รายงานอุบัติการณ์การเฝ้าระวังการเกิดโรคต่อคณะกรรมการการติดเชื้อของโรงพยาบาล
1.6.4 การประเมินผลการพยาบาล
1) ไม่มีการแพร่กระจายเชื้อสู่ญาติและบุคลากรในหอผู้ป่วย