Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, นางสาวพรภัสส์ษา …
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
ความพิการแต่กำเนิด แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
1.พิการด้านโครงสร้างร่างกาย
แขนขาขาด
ปากแหว่งเพดานโหว่
เป็นโรคหัวใจ
2.พิการด้านการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย
โรคหิตจาง
ธาลัสซีเมีย
ต่อมไทรอยด์บกพร่อง
พบบ่อยสุด ได้แก่
1.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
2.แขนขาพิการ
3.ปากแหว่งเพดานโหว่
4.กลุ่มอาการดาวน์
การพยาบาล
1.Cleft-lip,Cleft-palate
2.TE fistula
3.Imperforate anus
4.Ompalocele
ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด
การวินิจฉัย
เด็กตัวเย็น ตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
ตรวจ ultrasound อายุครรภ์ 10 สัปดาห์ หลังคลอดพบผนังหน้าท้องเป็นช่องโหว่
การไม่มีผนังหน้าท้องทำให้ลำไส้ปนเปื้อนสิ่งสกปรก จากภายนอกทำให้ติดเชื้อ
การรักษา
ผ่าตัด
ระยะแรก ดันลำไส้กลับเข้าไปในท้องแล้วเย็บปิดผนังหน้าท้อง
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
keep warm
พยายามปั้นกระจุกลำไส้ให้ตั้ง โดยใช้ผ้าก๊อสม้วนพันประคอง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ขณะผ่าตัด
นอนตะแคงเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
ประคองลำไส้ไม่ให้พบตกลงมา
หลังผ่าตัด
ติดตามการทำงานของลำไส้
ดูแลเด็กที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ 24-48 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารตามแผนการรักษา
5.Gastochisis
ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดือแตกตอนอยู่ในครรภ์ สายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
6.Epispadia
7.hypospadia
ความพิการแต่กำเนิด แบ่งเป็น
1.major anomalies ความผิดปกติที่ทำให้การทำงานของอวัยวะนั้นเสีย เช่นภาวะหลอดประสาทไม่ปิด ปากแหว่งเพดานโหว่
2.minoranomalies ความผิดปกติที่ไม่ส่งผลให้อวัยวะเสีย เช่น ติ่งบริเวณหน้าหู ปาน
การจำแนกความผิดการตามกลไกการเกิด
1.Malformation อวัยวะผิดรูปร่าง เกิดจากการพัฒนาผิดปกติ พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม เช่น นิ้วเกิน เพดานโหว่ เท้าปุก
2.Deformation แรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะผิดรูป เช่นถุงน้ำคร่ำรั่วระหว่างตั้งครรภ์
3.Disruption โครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติ
4.Dysplasia เป็นความผิดปกติระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อ
พันธุกรรม
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในระหว่างตั้งครรภ์ เช่น มารดามีอายุมากเกินไป
โรคติดเชื้อ เช่น โรคหัดเยอรมัน
ขาดอาหาร หรือ ขาดวิตามิน
ปากแหว่ง-เพดานโหว่
ปากแหว่งอย่างเดียวข้างเดียว
ปากแหว่งสองข้างร่วมกับเพดานโหว่
เพดานโหว่อย่าเดียว
การวินิจฉัย
สามารถตรวจได้เมื่อครรภ์ 13-14 สัปดาห์
ซักประวัติหาสาเหตุทางพันธุกรรม
ตรวจร่างกายหรือดูช่องปากเวลาเด็กร้อง
อาการและอาการแสดง
เกิดการสำลัก
หายใจลำบาก
ติดเชื้อในหูชั้นกลาง
การดูด/กลืนผิดปกติ
การรักษา
1.ทำการผ่าตัด อายุอย่างน้อย 8-12 สัปดาห์
การผ่าตัดปากแหว่งด้านซ้าย = Triangular Flap
การผ่าตัดปากแหว่งด้านขวา = Rotation Advancement Method
การผ่าตัดปากแหว่งทั้ง2ด้าน = Straight Line Repair
ขั้นตอนการรักษา
1.ปรึกษาแพทย์เพื่อใส่เพดานเทียม เพื่อให้ดูดนมได้ไม่สำลัก
2.ผ่าตัดเพดาน
3.ผ่าตัดแก้ไขจมูกเมื่อายุ 3ปี และฝึกพูด
4.เมื่ออายุ 5 ปี ให้ปรึกษาทันตแพทย์เพื่อดัดฟัน
5.รักษาความผิดปกติที่เหลืออยุ่
การพยาบาล
เป้าหมาย
ดูแลให้เด็กมีการเจริญเติบโตใกล้เคียงปกติมากที่สุด ร่วมกับการจัดการความผิดปกติและพิการ
การวางแผนการพยาบาล
ส่งเสริมครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก
ระยะต่างๆ
ระยะก่อนผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวลของบิดามารดาและให้ข้อมูลการผ่าตัด เปิดโอกาสให้สอบถาม ปลอบโยนและใ้ห้กำลังใจ
แระเมินความรูความเข้าใจ แนะนำการดูแลในระยะก่อนผ่าตัด หลังผ่าตัด
ดูแลให้นมอย่างถูกวิธี รักษาความสะอาดช่องปาก
*
การให้นมอย่างถูกวิธี จัดท่าศีรษะสูง 30-45 องศา จุกนมต้องยาว รูออกของน้ำนมต้องใหญ่กว่าปกติ ดูดครั้งละน้อยๆบ่อยครั้ง จับไล่ลมเป็นระยะ 15-30มิลลิลิตร ป้อนน้ำตามทุกครั้ง หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดเป็นเมล็ด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ/แผลฉีกขาด
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล ผูกยึดข้อศอกทั้ง 2 ข้างไม่ให้งอ 2-6 สัปดาห์หลังผ่าตัด คลายออกทุก1-2ชั่วโมง นาน10-15 นาที งดดูดนม1 เดือน
ใส่ Logan bow จนกว่าแผลจะติดดี
ไม่สุกสบายเนื่องจากแผลผ่าตัด
ประเมินความเจ็บปวด การกระสับกระส่าย การนอนหลับ การร้องเกร็ง
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด
เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
ติดตามค่า Oxygen satulation
จัดท่ากึ่งนั่งกึ่งนอนหรือนอนตะแคงหน้า
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ
ดูแลทำความสะอาดแผล ดูแลให้นมอย่างถูกวิธี
มีโอกาสขาดน้ำหรืออาหารเนื่องจากข้อจำกัดในการดูดกลืนหลังผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหอดเลือดดำตามแผนกาารรักษา
งดดูดนมขวด 1 เดือน
สอนบิดามารดาให้นมอย่างถูกวิธี
ชั่งน้ำหนักทารกวันละครั้ง
Esophageal stenosis/fistula/atresia (หลอดอาหารตีบ/รั่ว/ตัน)
อาการและอาการแสดง
น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก
การรักษา
ระยะแรก Gastrostomy
ระยะสอง Thoracotomy and division of the fistula with Esophageal anasatomosis
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบเนื่องจากสำลักน้ำลาย
อาจได้รับสารน้ำหรือสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
หลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
จัดท่านอนศีรษะสูง ดูแลการทำงานของ ICD ระวังสายหักพับงอและบันทึกสี จำนวน
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
ทำแผลอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ล้างมือก่อนทำแผล สังเกตการติดเชื้อ
การวินิจฉัย
ห้ามใส่ NG Tube หรือสาย Suction และไม่ควรนอนเหยียดคอ
กระตุ้นให้เด็กร้องบ่อยๆเพื่อขยายปอด
ดูแลการทำงานของ ICD ให้มีประสิทธิภาพ
Anorectal molformation (ไม่มีรูทวารหนัก)
ชนิดของความผิดปกติ
1.Anal stenosis รูทวารหนักตีบแคบ
2.Imperforate anal membrane เยื่อบางๆปิดรูทวารหนัก
3.Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
Low type
intermediate type
high type
4.Rectal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทาภายใน 24 ชั่วโมง
ไม่พบรูทวารหนัก ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย ท้องอืด ปวดเบ่งอุจจาระ
ตรวจพบมีกากอาหารค้างในระบบทางเดินอาหาร
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ตรวจรังสีวินิจฉัย X-rayเพื่อประเมินระดับลำไส้ตรง
CT scan,MRI,ultrasound
การรักษา
Low type มี 3 วิธี
1.การถ่างขยายทวารหนัก ใช้เวลา 6 เดือน-1 ปี
เบอร์ hegar metal dilator
อายุ 1-3 เดือน เบอร์ 12
อายุ 4-8 เดือน เบอร์ 13
อายุ 9-12 เดือน เบอร์ 14
อายุ 1-3 ปี เบอร์ 15
อายุ 4-14 ปี เบอร์ 16
อายุ 14 ปีขึ้นไปเบอร์ 17
2.การผ่าตัด anal membrane ในรายที่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
3.การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก เมื่อผ่าตัดประมาณ 10 วันทำการถถ่างขยายทวารหนักต่อ
Intermediate และ High
ทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระออก
ผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก
ระยะแรก ขยายรูทวารหนักวันละ 1 ครั้ง นาน 1 เดือน
ระยะที่สอง ขยายรูทวารหนักวันละ 1 ครั้ง ทุก 3 วัน นาน 1 เดือน
ระยะที่สาม ขยายรูทวารหนัก2 ครั้ง/สัปดาห์ นาน 1 เดือน
ระยะที่สี่ ขยายรูทวารหนัก 1 ครั้ง/สัปดาห์ นาน 1 เดือน
ระยะที่ห้า ขยายรูทวารหนัก 1 ครั้ง/เดือน นาน 1 เดือน
ผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
การพยาบาล
ระยะขยายทวารหนัก
ให้ความรู้กับบิดามารดาเกี่ยวกับการดำเนินโรค สอนการถ่างขยายทวารหนัก แนะนำการให้อาหารตามวัยของเด็ก
หลังผ่าตัด
ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล สังเกตการเปลี่ยนแปลงรอบๆทวารเทียม
แนะนำอาหารย่อยง่ายโปรตีนสูง สังเกตและบันทึกอุจจาระ แนะนำการมาตรวจตามนัด
Abdominal compartment syndrome
ความดันในช่องท้องเพิ่มสูงขึ้นมากกว่า 20 mmhg
ACS ส่งผลต่อหลายระบบ เช่น หายใจลำบาก ความดันโลหิตต่ำ ไตวาย
การดูแลเพื่อลดแรงดันในช่องท้อง
ใหยาระงับแก้ปวด
จัดผู้ป่วยนอนราบ ศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา
ฟอกไตเพื่อดึงน้ำออกจากร่างกาย
การใส่สายระบายในช่องท้อง
นางสาวพรภัสส์ษา ภัทรวิกรัยกุล เลขที่ 1 36/2 612001081