Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Injury, จัดทำโดย นางสาวพิมพ์พิสุทธิ์ ทันหอ เลขที่ 46 ปี 3 ก - Coggle…
Birth Injury
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกต้นแขนหัก
ปัจจัยเสี่ยงได้แก่การคลอดติดไหล่ ทารกขนาดใหญ่ คลอดท่าก้น
ผ่าตัดในรายที่ไม่ได้มศีรษะเป็นส่วนนำ
ทารกมีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์
การหักของกระดูกอื่นๆ
กระดูกจมูก กระดูกขากรรไกร กระดูกใบหน้า และ Septal cartilage
ทำให้ทารกหายใจลำบาก มีปัญหาการดูดนม
กระดูกไหปลาร้าหัก
มักสัมพันธ์กับการคลอดยาก
พยากรณ์โรคดี หายได้เองไม่มีผลระยะยาว
พบการหักได้บ่อยที่สุด
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ Sternocleidomastoids
ทำให้เกิดเป็นก้อนเลือด ในกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดคอเอียง Toerticollis
การฉีกขาด ของกล้ามเนื้อหรือเยื่อหุ้มของกล้ามเนื้อSternocleidomastoids ขณะคลอดท่าก้น
ศีรษะของทารกจะเอียงไปทางด้านที่มีการบาดเจ็บ ต้องได้รับการทำกายภาพบำบัด
กระดูกต้นขาหัก
มักพบในรายคลอดท่าก้นทางช่องคลอด
การเคลื่อนหลุดของข้อต่อ
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติตั้งแต่อยู่ในครรภ์
จากภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
การบาดเจ็บของระบบประสาท
การบาดเจ็บของเส้นประสาทของใบหน้า
เกิดจากเส้นประสาทคู่ที่ 7 Facial nerve ถูกกด
การบาดเจ็บชนิดนี้มักเป็นการบาดเจ็บของเส้นประสาท Mandibular branch
ทารกเคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวกับที่มีการบาดเจ็บ หนังตาปิดไม่สนิท ไม่สามารถใช้กล้ามเนื้อส่วนล่างได้
หายได้เองภายใน 2-3 วัน ไม่เกิน 2 สัปดาห์
การบาดเจ็บของ Phrenic nerve
มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของBrachial plexus
หายใจลำบาก เสียงหายใจลดลง มักพบอาการตั้งแต่แรกคลอด
การบาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลัง
เกิดจากการดึงรั้นของบริเวณลำคอขณะช่วยคลอดไหล่หรืออาจเกิดจากการบิด
การบาดเจ็บของ Laryngeal nerve
ทารกหายใจลำบาก เสียงแหบ ร้องเบา ไม่มีเสียงร้อง กลืนลำบาก สำลัก
วินิจฉัยโดย direct
laryngoscopy
อาจทำให้ paralysis ของเส้นเสียง
มักหายได้เอง
การบาดเจ็บของ Brachial plexus
Total brachial plexus paralysis
การบาดเจ็บของเส้นประสาท ที่ประกอบเป็น Brachial plexus ทั้งหมด
มือและแขนของทารกมีอาการอ่อนแรง
Klumpke paralysis
อาจทำให้มือทารกข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C8 และ T1
Erb หรือ Duchenne paralysis
ทารกอยู่ในท่าแขนเหยียดตรงหมุนเข้าด้านใน
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C5 C6 อาจมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C7
ข้อศอกเหยียด ข้อมือและนิ้วมืองอ
การทำงานของนิ้วมือมักปกติ
ภาวะนี้อาจเกิดในทารกที่คลอดปกติ เนื่องจากการช่วยคลอดมีการดึงโน้มศีรษะเพื่อช่วยคลอด
Neonatal Brachial Plexus Injury (NBPI)
หายภายใน 12 เดือนหลังคลอด
หากไม่หายภายใน 12 เดือนเสี่ยง มีความพิการของประสาทแบบถาวร
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Cephalhematoma
พบบ่อยบริเวณกระดูก Parietal และ Occipital bone
คลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน อยู่บนกระดูกชิ้นเดียว
เกิดจากการฉีกขาดของเส้นเลือดใต้ชั้น Periostreum ทำให้มีเลือดออกใต้ต่อ Periostreum
ไม่ข้าม Suture lines
มักทำให้เสียเลือดเพียงเล็กน้อย
ทำให้เกิดภาวะซีดหรือตัวเหลืองได้
Subgaleal hemorrhage
ระหว่าง Periostreum ของกระโหลกศีรษะ กับ Aponeurosis จากการฉีกขาดของเส้นเลือด
ทำให้ทารกเสียเลือดมาก
มีเลือดคั่งใน Subgaleal space
Caput succedaneum
บริเวณที่บวมจะคลำขอบได้ไม่ชัดเจน
ตรวจพบตั้งแต่แรกคลอด
ส่วนที่บวมข้าม Suture lines
มักมีขนาดเล็กลงและหายไปเองภายในชั่วโมงหรือ 2-3 วัน
การบวมของบริเวณศีรษะเหนือ Periostreum
กะโหลกศีรษะแตก
พบในทารกที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด
มักเป็นการแตกในแนวเส้นตรง
พบร่วมกับ Cephalhematoma
เลือดออกในสมอง (Intracranial hemorrhage)
Subdural hemorrhage
พบอาการ 24-48 hr.
อาการทางระบบประสาท ซึม Hypotonia ม่านตาไม่ตอบสนอง
พบไม่บ่อย พบในการคลอดครบกำหนดมากกว่า
ทำให้เสียชีวิต โคม่า จนถึง พิการเล็กน้อย
Epidural hemorrhage
Hypotonia ,ชัก
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
พบน้อย พบร่วมกับการแตกของกะโหลกศีรษะ
Subarachnoid hemorrhage
พบบ่อยในทารกแรกคลอด
พบหลังคลอด 24-48 hr.
พยากรณ์โรคดี
Intraventricular hemorrhage
รุนแรง ส่วนมากพบในทารกที่คลอดน้อยกว่า 32 สัปดาห์
เกิดหลัง 72 hr. หลังคลอด
การบาดเจ็บของ Soft tissue
Subcutaneous of necrosis
พบบ่อย ไหล่ ก้น
ตรวจพบหลังคลอด ประมาณ 6-10 วัน
เกิดจากการขาดเลือดของเนื้อเยื่อไขมัน
บาดแผลฉีกขาด
พบบ่อยที่บริเวณส่วนนำ
ส่วนใหญ่เกิดในรายที่ผ่าคลอดฉุกเฉิน
เป็นการบาดเจ็บที่พบบ่อยที่สุดในการผ่าคลอด
Bruising and petechiae
ผิวหนังบวมช้ำ มีจุดเลือดออก
มักพบที่ส่วนนำของทารก
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
พบไม่บ่อย
ปัจจัยเสี่ยง คือ คลอดท่าก้นทางช่องคลอด ทารกตัวโต
การบาดเจ็บที่พบบ่อยสุด คือ ตับแตก
การบาดเจ็บของบริเวณใบหน้า
การบาดเจ็บของจมูก
เกิดได้จากการที่จมูกของทารกถูกกดอยู่กับกระดูกsymphysis pubis
หรือ promontory of sacrum
หากรุนแรง ทำให้หายใจลำบาก
ต้องได้รับการรักษาเพื่อไม่ให้เกิดความผิดปกติของกระดูกจมูกnasal septum
การบาดเจ็บบริเวณดวงตา
subconjunctival
hemorrhage (มักหายในเวลา 1-2 สัปดาห์)
ต้องได้รับการดูแลโดยจักษุแพทย์
พบบ่อยคือretinal
hemorrhage (มักหายในเวลา 1-5 วัน)
จัดทำโดย นางสาวพิมพ์พิสุทธิ์ ทันหอ เลขที่ 46 ปี 3 ก