Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอด เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง :smiley: - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาหลังคลอด เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง :smiley:
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
:pencil2:
Post-partum blues
อารมณ์เศร้าระยะหลังคลอดอาจเกิดขึ้นได้ตั้งแต่แรกคลอดทันที พบมาก 2-3 วันแรก
อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิด ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ ซึมเศร้า วิตกกังวลสูงขึ้น หลงลืมนอนไม่หลับ
สามารถหายได้เอง
สาเหตุ
แยกจากครอบครัว
สภาพแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย
hm เปลี่ยน 2-3 วันหลังคลอด
ไม่สุขสบายทางร่างกาย
เพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอ
สูญเสียด้านร่างกายในระยะหลังคลอด
ความรู้สึกว่าตนเองสูญเสียความสำคัญ
ความรู้สึกไม่มั่นใจต่อการเป็นมารดา
ความรู้สึกสูญเสียความงาม
การปรับตัวของมารดาหลังคลอด
:red_flag:
ระยะที่ 1 Taking-in phase
พึ่งพาผู้อื่น
ยอมรับการช่วยเหลือที่สนองความต้องการด้านร่างกายและจิตใจของตนเองมากกว่าที่จะนึกถึงทารก
การพยาบาล : ให้พูดระบาย รับฟัง
สนับสนุนให้สามี ญาติได้มีส่วนร่วมในการดูแลแก่มารดาหลังคลอด
ระยะที่ 2 Taking-hold phase
ช่วยเหลือ ตนเองได้มากขึ้น
พึ่งพา-ไม่พึ่งพา
กระตือรือร้น สนใจดูแลตนเองทารกและครอบครัว
การพยาบาล : ให้คำแนะนำสอน
การดูแลตนเองและทารก
ระยะที่ 3 Letting-go phase
ปรับตัวต่อบทบาทใหม่ ได้ดีขึ้น
การพยาบาล : ให้คำแนะนำมารดาและ ครอบครัว การปรับตัววางแผนการดำเนินชีวิตตามพัฒนกิจ กระตุ้นให้มารดาและสามี จัดสรรเวลาซึ่งกันและกัน
การปรับบทบาทต่อการเป็นมารดา
:star:
สัมพันธภาพระหว่างสามี
การรับรู้ถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรของสามี
ความพึงพอใจของมารดาต่อประสบการณ์ระยะเจ็บครรภ์-คลอด
ความพึงพอใจของมารดาต่อสภาพชีวิต และฐานะครอบครัว
ความมั่นใจของมารดาในการปฏิบัติพัฒนกิจตามบทบาทมารดา
ความพึงพอใจในการเลี้ยงดูบุตร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวสู่บทบาทการเป็นมารดา
:<3:
บุคลิกภาพและการเลี้ยงดูที่ได้รับในวัยเด็ก
อายุ
ประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็ก
การศึกษา
รายได้
สัมพันธภาพในชีวิตสมรส
การสนับสนุนทางสังคม
แนวทางการการพยาบาลส่งเสริมบทบาท
การเป็นมารดา
:<3:
ระยะคลอด
สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดาตั้งแต่แรกรับเข้ามา
ห้องคลอด เปิดโอกาสให้หญิงตั้งครรภ์ได้ซักถาม
แจ้งให้มารดาทราบความก้าวหน้าของการคลอด
ตอบสนองความต้องการของมารดา เช่น การพักผ่อน ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ช่วยเหลือบรรเทาความเจ็บปวดขณะUT
ระยะหลังคลอด
ให้มารดากับบุตรได้อยู่ด้วยกันทันทีหลังคลอด (บุตรไม่มีภาวะแทรกซ้อน)
มารดาผ่าตัดคลอด ได้ยาระงับความรู้สึก
ควรกระตุ้น ambulate
เพื่อให้มารดาและบุตรได้อยู่ด้วยกันเร็วขึ้น
กระตุ้นให้มารดาได้อุ้ม ประสานสายตา ให้นม
กรณีที่บุตร/มารดาเจ็บป่วยหลังคลอด
ควรให้มารดาได้เห็น ได้สัมผัสบุตร
ส่งเสริมให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตนหลังคลอด การดูแลบุตร
บทบาทการเป็นบิดา
:tada:
การจัดหาเลี้ยงครอบครัว
การปกป้องภรรยาในระยะหลังคลอด
การเลี้ยงดูบุตร
พัฒนกิจของบิดา
รู้จักเกี่ยวกับบทบาทของบิดา
หาแนวทางแก้ไขความกดดันขณะเริ่มเป็นบิดา
เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งจำเป็นในการดูแลบุตร
กำหนดหลักการเพื่อที่จะทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ส่งเสริมให้บุตรมีพัฒนาการด้านต่างๆ
ดำรงไว้ซึ่งสัมพันธภาพระหว่างสามี-ภรรยา
มีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการหารายได้
รู้สึกภาคภูมิใจในความเป็นชาย
เป็นตัวแทนของครอบครัวเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน
บทบาทในการพัฒนา
สุขภาพของบุตร
:check:
ดูแลให้บุตรได้รับสารอาหารต่างๆ อย่างเพียงพอ
ส่งเสริมพัฒนาการของบุตรให้เป็นไปตามแต่ละช่วงวัย
การดูแลป้องกันอันตรายต่างๆ ที่จะเกิดแก่บุตร เช่น อุบัติเหตุต่างๆ
แนวทางการส่งเสริมความผูกพันระหว่างบิดามารดาและทารก
:recycle:
ประเมินพฤติกรรมความรักความผูกพัน
ประเมินปัจจัยเสี่ยงที่ขัดขวางกระบวนสร้างสัมพันธภาพ
จัดกิจกรรมการพยาบาล
มารดามีสัมผัสกับบุตรในระยะ sensitive period
ให้มารดาอยู่กับบุตรโดยเร็ว (Rooming in)
ให้กําลังใจ ให้คําปรึกษา
ตอบสนองความต้องการของมารดา
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา