Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ, 562000001899201,…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
Primary survey และ Resuscitation
พยาบาลควรทำการ Immobilization เพื่อจัดกระดกูให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ แล้วลดการขยับเลือนโดยการ Splint กระดูกส่วนที่หัก โดยใส่ Splint ให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหัก
ในผู้ป่วยที่กระดูกผิดรูป หรือ fracture ให้ทำการ splint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด และพิจารณาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ และออกซิเจนด้วย
Secondary survey
การซักประวัติ
สาเหตุการเกิด เช่น รถยนต์ชน รถจักรยานยนต์แฉลบ ถูกยิง ถูกแทง
ระยะเวลา เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการรักษา
สถานที่ เช่นอุบัติเหตุในน้ำสกปรก คูน้ำ เป็นต้น
การรักษาเบื้องต้น เช่น การใส่ Splint การใส่ traction การรับยาปฏิชีวนะ
การตรวจร่างกาย
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง
โดยให้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternum แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหักของ กระดูกซี่โครง
กระดูกสันหลัง
ให้ผู้ป่วยยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวัง ในท่านอนหงายผู้ป่วยที่สามารถทำได้แสดงว่าอาจไม่มีการหักของกระดูกสันหลังส่วนคอ
กระดูกแขนขา
ให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสองข้างหากพบว่าผู้ป่วยสามารถยกแขนขาได้ ตามปกติ แสดงว่าผู้ป่วยไม่น่าจะมีกระดูกหัก
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลมุกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
Retention
เป็นการประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่จากการจัดกระดูกเข้าที่แล้วและรอให้กระดูกติดตามธรรมชาติ
Rehabilitation
เป็นการฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ
Reduction
เป็นการจัดกระดูกให้เข้าที่ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด
Reconstruction
เป็นการแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บหรือภาวะแทรกซ้อน ให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Recognition
เป็นการตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น
Refer
เป็นการส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด อาจเป็นการบาดเจ็บแบบ Blunt trauma หรือ Penetrating wound ทำให้มีการเสียเลือดจำนวนมากและเกิด Hypovolemic shock ได้
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ทำ Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด
Fluid resuscitation ในรายที่กระดูกผิดรูปให้ทำการจัดกระดูกให้เข้าที่แล้วทำการ Splint
Crush Syndrome
เป็นภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
อาการที่พบ
พบ Hemoglobin ได้ผลบวก
เมื่อเกิดภาวะ Rhabdomyolysis จะมีอาการของ Hypovolemia, Metabolic acidosis, Hyperkalemia, Hypocalcemia และ DIC ได้
่ Dark urine
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้ Fluid resuscitation ให้ Osmotic diuretic เพื่อรักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
ให้ Sodium bicarbonate เพื่อช่วย ลด Myoglobin ที่ไปทำลาย Tubular system
ในระหว่างการให้สารน้ำและยาจะประเมิน Urine output ให้ได้ 100 cc./ชั่วโมง จนกว่าปัสสาวะจะใส
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
การตรวจร่างกาย
ดู จะพบ Progressive flank พบ Scrotum และ Perineum บวม มีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ Pelvic
คลำ พบกระดูก Pelvic แตก PR examination พบ high-riding prostate gland และ มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหว จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่ำ
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย โดยการส่ง film pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding โดยการทำ Stabilization pelvic ring จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
consult แพทย์ศัลยกรรมเฉพาะ ทางในกรณีที่ผู้ป่วยยังมี Hemodynamic abnormality เพื่อช่วยในการรักษาต่อไป
น.ส.ธัญญารัตน์ ศรีโชคสิทธิกุล 6001210118 เลขที่ 5 Sec.A