Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของหัวใจ และโครงสร้าง, นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์ …
ความผิดปกติของหัวใจ
และโครงสร้าง
ความผิดปกติของ
ระบบไหลเวียน
จากโครงสร้างของหัวใจ
และหลอดเลือด
เป็นตั้งแต่กำเนิด
เกิดขึ้นภายหลัง
การทำหน้าที่
ความเสื่อม
โรคร่วมต่าง ๆ
ความผิดปกติของระบบไหลเวียน
โรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดแดง
โรคของหลอดเลือดดำ
การประเมินผู้ป่วย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
การตรวจรังสี/อื่น ๆ
อาการและอาการแสดง
ที่พบบ่อย
อ่อนล้า (Fatigue)
ใจสั่น (Palpitation)
เจ็บหน้าอก (Chest pain)
หายใจลำบาก/เร็ว
เป็นลม (Syncope)
บวม (Edema)
เขียว (Cyanosis)
อื่น ๆ เช่น Hypoxia, Neck vein engorgement, cough
Heart Failure
สาเหตุ
Coronary artery disease
Abnormal loading condition
กล้ามเนื้อหัวใจมีการทำหน้าที่ผิดไป
ความผิดปกติของห้องหัวใจล่างซ้าย
โรคร่วมเรื้อรังอื่น ๆ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจเต้นผิดปกติ
ความผิดปกติของหัวใจ
สารพิษต่าง ๆ
โรคเกี่ยวกับปอด
หยุดหายใจขณะหลับ
พยาธิสภาพ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง บีบเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้น้อย
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
Cardiac output เพิ่มขึ้นในการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง
หลอดเลือดแดงหดตัว
การเพิ่มแรงการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
น้ำและเกลือคั่งในร่างกาย
กล้ามเนื้อหัวใจหนา แข็ง และโตขึ้น โดยเฉพาะห้องล่างซ้าย
ชนิดของหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจห้องล่างเวนตริเคิลวายด้านซ้ายและด้านขวา
ภาวะหัวใจวายเฉียบพลันและเรื้อรัง
อาการ
Cyanosis, Edema, เหนื่อยง่าย , คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ท้องบวมน้ำ ตับโต, หายใจเหนื่อยกลางคืน, ปัสสาวะน้อยลง
การตรวจร่างกาย
คลำพบ Heaving และ Thrill
เคาะพบตับโต
ตำแหน่ง PMI เปลี่ยนแปลงไป
Pulse Irregular
เสียงหัวใจเต้นผิดปกติ
ท้องบวม
หลอดเลือดที่คอโป่ง
อาการบวมที่ส่วนต่ำของร่างกาย
หัวใจห้องข้างขวาวาย
การวินิจฉัย
อาการทางคลีนิค จากการประวัติเช่น อาการเหนื่อย ทำงานไม่ได้นาน (Activity intolerance) หอบ ฯลฯ
ตรวจร่างกาย อาจพบ บวม เขียว Murmur, decreased breath sound, crepitation, S3 gallop
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
การป้องกัน
ควบคุมระดับความดันโลหิต
และปัจจัยสี่ยง
การรักษาแต่เนิ่น ๆ
การรักษา/พยาบาล
ลดการทำงานของหัวใจ
เพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง
การให้ออกซิเจน
ดูแลให้ยา เพื่อลด Preload และ afterload ของหัวใจ
ให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
ให้ยาขยายหลอดเลือด
บำบัดด้วยยาขยายหลอดเลือดแดง
ปรับพฤติกรรม
บำบัดด้วยเครื่องมือ
Aneurysm
อาการ
คลำก้อนได้ที่หน้าท้องใต้ลิ้นปี่ ปวดท้องเรื้อรัง มีก้อนเต้นที่ท้องสัมพันธ์กับชีพจร ถ้ามีแรงดันในช่องท้อง การกดหรือกระแทกรุนแรง อาจทำให้เกิดการแตกได้
การรักษา
ถ้าหลอดเลือดแดงใหญ่ไม่โตมาก
ให้เฝ้าระวังอาการ แต่ถ้าก้อน
โตมากต้องพิจารณาผ่าตัด
การพยาบาล
ควบคุมความดันโลหิต
งดบุหรี่
หลีกเลี่ยงการเบ่งถ่าย
ดูแลก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
หัตถการเกี่ยวกับหัวใจ
การสวนหัวใจ (Coronary angioplastry) เพื่อขยายหลอดเลือด Coronary artery
การพยาบาลก่อนทำ
เจาะเลือด x ray หัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ต้องงดน้ำและอาหารหลังเที่ยงคืน
สื่อสารกับแพทย์ได้ โรคประจำตัว ยาที่รับประทาน โดยเฉพาะยาละลายลิ่มเลือด ต้องงดยาก่อน
การพยาบาลหลังทำ
นอนราบประมาณ8 ชั่วโมง สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
รับประทานอาหารที่เป็นน้ำ
Coronary artery
bypass graft (CABG)
การพยาบาลก่อนทำ
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ยา sedative
ให้ยาระงับความรู้สึก GA
ใส่ท่อช่วยหายใจ
สวนปัสสาวะค้าง
ขณะผ่าตัด
เปิดช่องอก sternum และ rib
ใช้เครื่องช่วยพยุงการทำงานของหัวใจและปอด
นำเส้นเลือดที่เหมาะสมมาตัดต่อเป็น Bypass
เมื่อเสร็จสิ้นใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจให้ทำงานต่อ
การพยาบาลหลังทำ
ย้ายเข้า ICU
ติดตามการทำงานของหัวใจ
Controlled heart rate และ hemodynamic
ดูแลสาย Chest tube
ดูแลทางเดินหายใจ และทางเดินปัสสาวะ
Open heart Surgery
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ให้งดยาก่อนผ่าตัด 7-10 วัน
การเตรียมผิวหนัง, การสวนอุจจาระ,
การงดน้ำและอาหาร,
ยาช่วยคลายความเครียด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมิน ECG Monitoring
วัดความดันทาง Arterial Line
ประเมิน Central Venous Pressure
ตวงปัสสาวะ
เฝ้าระวังอาการผิดปกติ
โรคเกี่ยวกับ
ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
Mitral valve
stenosis
สาเหตุ
ไข้รูมาติก
พยาธิสภาพ
การอักเสบของลิ้นหัวใจทำให้เกิดความแข็ง หนา หดรัด ดึงรั้งของลิ้นหัวใจ ทำให้รูเปิดแคบลง เลือดไหลไม่สะดวกทำให้เกิดเลือดไหลวน ความดันในเอเตรียมซ้ายสูงขึ้น และหลอดเลือดแดงที่ปอดความดันสูงขึ้น
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation เขียว และ murmur
การรักษา/พยาบาล
ลดอาการหอบเหนื่อยจากหัวใจล้มเหลว
การใช้ยา
การผ่าตัด
การปรับพฤติกรรม
Mitral valve
regurgitation
สาเหตุ
การติดเชื้อ การที่มีการเสื่อมของ
เนื้อเยื่อ ลิ้นหัวใจฉีกจากโรคบางโรค
และการขยายตัวของหัวใจห้องล่าง
พยาธิสภาพ
คล้ายกับลิ้นไมตรัลตีบ แต่ต่างกันที่
จากการที่ปิดไม่สนิททำให้เลือดไหล
ย้อนจากเวนตริเคิลซ้ายไปเอเตรียมซ้าย
อาการ
เมื่ออาการรุนแรง หายใจลำบากขณะมีกิจกรรม ใจสั่น นอนราบไม่ได้ บวมกดบุ๋ม หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง อ่อนเพลียมาก
การรักษา/พยาบาล
ถ้าเกิดจากไข้รูมาติก ให้ยาปฏิชีวนะ
ระยะที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ยาขับปัสสาวะ
ระยะรุนแรง มักรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
Aorta valve
stenosis
สาเหตุ
ลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
และความเสื่อมของลิ้นหัวใจ
พยาธิสภาพ
อาการจะค่อยเป็นค่อยไปใช้เวลาหลายปี
จนลิ้นหัวใจมีรูตีบเล็กจึงปรากฎอาการ
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบ Angina หายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ล้า นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบกลางคืน เสียงหัวใจผิดปกติแบบ Harsh Crescendo-decrescendo ในช่วงหัวใจบีบตัว
การรักษา/พยาบาล
ระยะแรกรักษาตามอาการ
ระยะรุนแรง การผ่าตัดดีที่สุด
Aorta valve
regurgitation
สาเหตุ
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจและ
การติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจและหัวใจ
ไข้รูมาติค เชื้อแบคทีเรีย หรือ ซิฟิลิส
พยาธิสภาพ
มักเกิดจากเยื่อบุหัวใจอักเสบติดเชื้อ
หลอดเลือดเอออร์ต้าฉีกขาด
การบาดเจ็บของทรวงอก
ขยายห้องหัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ
ทำให้ความตึงตัวผนังหัวใจเพิ่มขึ้น
เวนตริเคิลซ้ายจึงหนาตัวขึ้น
อาการ
ใจสั่น หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ หายใจ
เหนื่อยตอนกลางคืน ล้าเจ็บหน้าอก Angina
หัวใจเต้นเร็ว มีเสียงฟู่แบบ Decrescendo
ช่วงหัวใจคลายตัว
การดูแลรักษา
ระยะแรกและปานกลางรักษาตามอาการร่วมกับปรับพฤติกรรม
ระยะรุนแรง ผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม
การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
การพยาบาล
การพักผ่อน อย่างน้อย 8 – 10 ชั่วโมง ในระยะ 1 เดือนแรก
การออกกำลังกายตามความสามารถ
ผู้ป่วยสามารถทำงานได้หลังผ่าตัด 6 สัปดาห์
ลดโซเดียม หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ ดื่มชา กาแฟ หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
สอนให้สังเกตอาการแสดง
เพศสัมพันธ์ มีได้เมื่อทำกิจวัตรประจำวันโดยไม่มีอาการเหนื่อย
ในช่วง 3 เดือนแรกหลังผ่าตัด ไม่แนะนำให้ตั้งครรภ์
ควรป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ
การรับประทานยา
โรคเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ
หัวใจและเยื่อหุ้มหัวใจ
Pericarditis
สาเหตุ
ติดเชื้อ
ปฏิกิริยาออโต้อิมมูนของร่างกาย
การใช้ยา
การได้รับบาดเจ็บ,สารพิษ,การได้รับรังสี,สารเคมี
พยาธิสภาพ
เกิดการอักเสบที่เยื่อหุ้มหัวใจ
ซึ่งอาจเกิดฉียบพลันหรือเรื้อรัง
อาการ
ไข้,เจ็บหน้าอก ร้าวไปแขน ไหล่
และคอ,หนาวสั่น,ฟังหัวใจได้ยิน
เสียง rub, หัวใจเต้นเร็ว, ใจสั่น,
หายใจลำบาก,อ่อนล้า
การรักษา
การใช้ยา NSAID, cochicin
การระบาย(Drainage)
การดูแลระบบไหลเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม Cardiac output
การพยาบาล
ประเมินความผิดปกติระบบไหลเวียน
ติดตามการทำงานของหัวใจ
เตรียมและให้การพยาบาลก่อนและหลังการทำหัตถการ
การดูแลระบบไหลเวียนเลือด
ให้น้ำเกลือเพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด
ดูแลให้ยากระตุ้นหัวใจ
ติดตามวัดประเมินความดันโลหิต ชีพจร ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Myocarditis
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจเสียหาย
จากเชื้อโรค
อาการ
เหมือนไข้หวัดใหญ่
เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า
ในระยะยาว อาจมีภาวะแทรกซ้อน
การรักษา/พยาบาล
ช่วยเหลือการทำงานของหัวใจ
การให้ยาคุ้มกันหรือยาต้านการอักเสบ
ให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานลดลง
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การผ่าตัด
Endocarditis
อาการ
อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสั่น
หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอกหายใจลำบาก
สาเหตุ
แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา
ไข้รูมาติค ไข้หวัดใหญ่
การรักษา/การพยาบาล
ให้ยาเพิ่มการบีบรัดตัวของหัวใจ
ให้ยาขับปัสสาวะ,ยาต้านการติดเชื้อ
ติดตามการทำงานของหัวใจ
ดูแลช่วยเหลือกิจกรรม
ให้ข้อมูลการปฏิบัติตน
Cardiac Pacemaker/
Artificial Pacemaker
ก่อนใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ : ทำความสะอาดตำแหน่งที่ผ่าตัดใช้บริเวณหัวไหล่ข้างที่ไม่ถนัด
ขณะใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ : ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจและความดันโลหิตอย่างต่อเนื่อง จดบันทึกลักษณะการกระตุ้นของเครื่อง อัตราเร็วของการกระตุ้น ความไว ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ใช้ ติดตามผล Chest X – Ray
หลังใส่เครื่องกำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ : วัดสัญญาณชีพ ติดตามภาวะหัวใจวาย และ Pneumothorax สังเกตคลื่นไฟฟ้าหัวใจ สังเกตแผลที่ใส่เครื่อง
ไม่ให้ผู้ป่วยออกแรงเหยียดแขนข้างที่ใส่เครื่อง สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการดูแลตนเองที่บ้าน
นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์
รหัส612501033 เลขที่31