Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของโรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
พยาธิสภาพของโรคระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่
ขนส่งอาหารเเละออกซิเจนไปให้เซลล์เเละนำของเสียคาร์บอกไดออกไซด์ออกจากร่างกาย
รักษาความสมดุล
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนเเละเอนไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคเเละสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
ระบบไหลเวียนโลหิต เเบ่งเป็น 2 ส่วน
1.วงจรไหลเวียนทั่วกาย(systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียน ออกจาก LV ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย เเล้วกลับมาเข้า RA วงจรนี้ทำงานกว้างขวาง เรียก วงจรใหญ่
2.วงจรไหลเวียนผ่านปอด (pulmonary circulation)
เลือดที่ส่งมาเข้า RA จะเทลงสู่ RV เเล้วส่งไปยังปอด จากนั้นจะกลับมาเข้า LA วงจรนี้ทำงานน้อยกว่า เรียก วงจรเล็ก
การไหลเวียนโลหิต เเบ่งเป็น 2 ส่วน
1.หัวใจ พร้อมทั้งการทำงานโดยละเอียด
2.หลอดเลือด มีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไก การทำงาน
โรคหัวใจพิการเเต่กำเนิด (Congenital heart disease)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
1.Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดเเละหัวใจ
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ
คลอดก่อนกำเนิด ขาดออกซิเจนขณะคลอด
2.Ventriculat Septal Defect (VSD)
3.Artrial Septal Defect (ASD)
4.Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta ส่วนใหญ่เกิดที่ aortic isthmus ใต้ left subclavian artery แบ่งเป็น 3 ชนิด
1.Preductal type มีการตีบก่อนถึง ductus arteriosus มักเสียชีวิตเเต่เด็ก
2.Ductal type ส่วนที่ตีีบจะอยู่ตรงกับส่วนต่อของ Ductus พอดี
3.Postductal type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosus มีชีวิตจนผู้ใหญ่
5.Pulmonary Stenosis
6.Aortic Stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
1.Tetralogy of fallot (TOF)
4 ความผิดปกติทางกายวิภาค
Right Ventricular Hypertrophy
Pulmonary Valve Stenosis
Overriding of aorta
Ventricular Septal Defect
2.Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricleขวาและ pulmonary artery ออกจากventricle ซ้าย
3.Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valveตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจอย่างอื่น
4.Tricuspid atresia
ไม่มีTricucpid valve ท าให้เลือดเข้าสู่RV ไม่ได้ทำให้เลือดจากRA ต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenotic valve)
ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/หนา/ติดกัน/กีดกั้น
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจภายหลังการติดเชื้อStreptococcal pharyngitis
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ (Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
เป็นภาวะที่พบบ่อย โดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ คล้ายคลึงกับกระบวนการ atherosclerosis พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นพลูโมนิคตบี (Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว (Regurgitate valve)
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
Aortic regurgitation
Pulmonary regurgitation
Mitral regurgitation
Tricuspid regurgitation
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ หรือผิวหนัง และทำให้เกิดการสร้างภมูิต้านทาน ส่งผลให้มีการทำลายเนื่อเยื่ออื่นๆ รวมทั้งลิ้นหัวใจด้วย
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative)
เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุ
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
ทำให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อ หัวใจจะอ่อนแรง เมื่อเป็นมากขึ้นอาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว
สาเหตุ
โรครูห์มาติก (Rheumatic fever)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
◦การติดเชื้ออื่นๆที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ คือ เส้นเลือดเเดงโคโรนารี่ (Coronary artery)
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ oxygen ไม่สมดุลกับ oxygen ที่ใช้
ST Elevation MI
กลุ่มโรคที่มีกล้ามมเนื้อหัวใจขาดเลือด เเละตายเฉียบพลัน มักจะเกิดจากที่ลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดทันที
การปวด (Angina Pectoris)
การปวดจากหัวใจ เจ็บหรือเเน่ เพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจวาย (Heart attack)
เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร จะมีอาการรุนเเรงมาก เหงื่อออก หมดเเรง
ปวดหัวใจจากการขาดเลือด เเบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1.เเบบคงที่ (Stable angina)
2.เเบบไม่คงที่ (Unstable angina)
สาเหตุ การเกิดรอยเเตกที่คราบไขมัน ซึ่งพอกผนังเส้นเลือด
Rheumatic Heart Disease
เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาเเต่กำเนิด
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบ
ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อผิดปกติ
ผลที่ตามมา
เกิดผังผิดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ ทำให้ลิ้นหัวใจเเช็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ หรือปิดไม่สนิท
Endocarditis (เยื่อบุหัวใจอักเสบ)
มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิวเรียก Vegetation
การเกิดเชื้อโรคในกระเเสเลือด เป็นเชื้อก้อนเลือดเล็กๆที่จับอยู่ตามลิ้นหัวใจหรืตามผนังหัวใจ ก่อให้เกิดการอึดตัน
Non-infective Endocarditis
ไม่พบเชื้อใน vegetation ในผู้ป่วย RHD
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจหรือลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
มักเกิดกับหัวใจปกติ
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
Atherosclerosis
พบบ่อยที่สุดและสำคัญที่สุด
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ Abdominal aorta
พยาธิสภาพคือ พบไขมันสะสมใน Tunicaintima
เห็นเป็นแผ่นนูน (Plaque) สีเหลืองเรียก atheroma
สาเหตุ
อาหารเเละภาวะHypercholesterolemia
Hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
Monckeberg medial calcific sclerosis
พบในหลอดเลือดขนาดกลาง
มี calcification ชั้น Tunica media
พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ฺBuerger's disease : TAO
ลักษณะของโรค
ไม่มี atheromas หรือเกิดน้อยมาก
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
ลักษณะการอุดตันของหลอดเลือด
มักเกิดกับหลอดเลือดแดงขนาดเล็กหรือกลาง
เกิดกับหลอดเลือดดำของทั้งส่วนบนและส่วนล่าง
ลักษณะของโรคสัมพันธ์อย่างมากกับ
การสูบบุหรี่
อาการเฉพาะ
ปวดในตำแหน่งอวัยวะที่ขาดเลือดทั่วไปคือ ปวดขา ปวดแขนขณะพัก
เป็นเเผลเรื้อรัง
สาเหตุ
การสูบบุหรี่/ได้รับควันบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญทั้งการเกิดโรคและการดำเนินของโรค
Aneurysm (หลอดเลือดเเดงโป่งพอง)
การโป่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่ (localized)และเป็นอย่างถาวร
การโป่งพองของหลอดเลือดมี 2 ชนิด
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอด
เลือด
ชนิดของ Aneurysm
Fusiform aneurysm การโป่งพองตามแนว axis
of vessel
Saccular aneurysm การโป่งพองตามแนว
tangential of axis
Dissecting aneurysm การโป่งพองที่มีการแยก
ชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
สาเหตุ
พยาธิสภาพเกิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลงจึงทำให้ หลอดเลือดโป่งออกมา
ตำเเหน่งที่มักพบ
Aorta – 95% สัมพันธ์กับโรค
atherosclerosis
Iliac artery, femoral artery, popliteal artery
Circle of Willis
Splenic artery/ hepatic artery / mesenteric
artery ( < 1%)
Abdominal Aortic Aneurysm โรคหลอดเลือดเเดงเอออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
มีความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุเกิน 60 ปี
มีญาติสายตรงเป็น AAA : เเม่/น้องชาย
อาการเเสดง AAA
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรง
ทันทีทันใด
ถ้าหลอดเลือดที่โป่งพองใกล้จะ
แตก
ปวดขา ขาเปลี่่ยนสี เป็นแผล
โรคของหลอดเลือดดำ
Varicose vein
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis