Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด, deep-vein-thrombosis…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
Acute MI
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemicheart disease, IHD)
โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดง ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน
่เกิดจากไขมัน และเนื้อเยื่อสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด
อาการสำคัญ
อาการเจ็บเค้นอก ใจสั่น
เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม
หมดสติหรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่ (stable angina)
กลุ่มอาการทเี่กิดจากโรคหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง
อาการ
อาการไม่รุนแรง ระยะเวลาครั้งละ 3-5 นาทีหายโดยการพักหรืออมยาขยายเส้นเลือดหัวใจ
มีอาการเจ็บเค้น อกเป็นๆ หายๆ
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome, ACS)
อาการที่สำคัญ
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน
เจ็บขณะพัก (Rest angina) นานกว่า 20 นาที
เจ็บเค้นอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม
จำแนกเป็น 2 ชนิด
ST elevation acute coronary syndrome
Non ST elevation acute coronary syndrome
อาการสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
อาการเหนื่อยขณะออกกำลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1–2สัปดาห์
อาการเหนื่อยขณะออกกำลังที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า3สัปดาห์ขึ้นไป
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลว
กลุ่มภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด
หายใจหอบ
หายใจเข้าไม่เต็มปอดอาจมีอาการเจ็บเค้นอกร่วมด้วย
กลุ่มภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
นอนราบไม่ได้ต้องตื่นขึ้นมากลางดึก
มีตับโต
ขาบวม
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกที่มีลักษณะเฉพาะ
การวินจิฉัยแยกโรค ในผู้ป่วยที่มีอาการต่างไปจากลักษณะเฉพาะ
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ในผู้ป่วยที่มีอาการ เจ็บเค้นอกรุนแรงติดต่อกันเป็นเวลานานเกินกว่า 20 นาที
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ เพื่อช่วยในการวินิจฉัยและประเมินความ รุนแรงของโรค
อาจสงสัยว่าอาการเจ็บเค้นอกนั้นมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วย
การรักษา
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 saturation, วัดสัญญาณชีพ
ให้ Aspirin gr V (325 mg) 1 เม็ด เคี้ยวแล้วกลืน ถ้าไม่มีประวัติแพ้ยา Aspirin
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น ถ้าความดันซิสโตลิก > 90 mmHg ให้ซ้ำได้ทุก 5 นาที (สูงสุด 3 เม็ด) หากอาการแน่นหน้าอกไม่ดีขึ้น
ถ้าผู้ป่วยเคยได้รับยาอยู่แล้ว ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ตามความเหมาะสม
หากอาการแน่นหน้าอกไม่ดีขึ้น หลังได้ยาอมใต้ลิ้น พิจารณาให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg เจือจาง ทางหลอดเลือดดำ
เตรียมพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้ออกซิเจน
นำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
ทำให้ประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจลดลงอย่างรวดเร็วเป็นผลให้ความดันโลหิตลดต่ำลง
มีอาการหน้ามืด เวียนศีรษะเป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
อาการหมดสติ/หัวใจหยุดเต้น
การวินิจฉัย
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด 12 lead หลังจากการกู้ชีพสำเร็จ ทันทีเพื่อช่วยวินิจฉัยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ควรพิจารณาส่งผู้ป่วยเพื่อตรวจสืบค้นเพิ่มเติม
อาจคิดถึงโรคหัวใจขาดเลือด ในผู้ที่มีอาการหมดสติชั่วคราว (syncope)
ต้องรีบตรวจชีพจรและการเต้นของหัวใจรวมทั้งคลื่นไฟฟา้หัวใจ
การรักษา
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก (cardiac massage) ในผู้ป่วยที่คลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดง ลักษณะห้องล่างหยุดนิ่ง (ventricular standstill) และควรพิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจ
ต้องทำการกระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
ควรพิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว (temporary pacemaker)
ควรให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อก ในผู้ป่วยที่ ระบบไหลเวียนโลหิตฟื้น กลับมาทำงานได้หลังการกู้ชีพ แต่ความดันโลหิตต่ำและยังอยู่ในภาวะช็อก
วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีภาวะ หัวใจขาดเลอืดร่วมด้วยโดยคำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้ป่วยได้รับและ สภาพผู้ป่วยในขณะนั้น
บทบาทของพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
ให้ออกซิเจน เมื่อมีภาวะ hypoxemia (SaO2 < 90% or PaO2 < 60 mmHg)
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ประสานงาน ตามทีมผู้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มหัวใจขาดเลือด เฉียบพลัน
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว การซักประวัติตาม หลัก OPQRST
Pulmonary embolism (PE)
ภาวะที่เกิดจากการที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นในหลอดเลือดดำ และหลุดไปอุดที่หลอดเลือดที่ปอด (venous thromboembolism หรือ VTE)
กลไกที่ทำให้เกิดลิ่มเลือด
มีความผิดปกติของเลือด ที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย (hypercoagulable states)
การไหลเวียน ของเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว (immobilization) เป็นเวลานาน
มีผนังหลอดเลือดดำที่ผิดปกติเกิดจากมี local trauma หรือมีการอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยง
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มีโรคมะเร็ง
เคยเป็น deep vein thrombosis (DVT) หรือ PE มาก่อน
immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์หรือการใช้estrogen
ประวัติครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านนมา
อาการแสดงทางคลินิก
ใจสั่น แน่นหน้าอก (pleuritic pain)
มีอาการหน้ามืดเป็นลม หรือหมดสติ
หายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน
มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxemia)
หัวใจเต้นเร็ว
มีหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
ฟังปอดมักปกติหรืออาจฟังได้เสียงวี๊ด (wheezing)
แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติตรวจร่างกาย
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray) พบinfiltration
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12 leads-ECG) ส่วนใหญ่พบว่าหัวใจเต้นเร็ว (sinus tachycardia)
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiography)
จะพบมีลักษณะของ right ventricular dysfunction
การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas, ABG)
พบว่า มีระดับออกซิเจนในเลือด ต่ำ (hypoxemia)
ค่า biomarkers ต่างๆ ที่พบว่าสูงกว่าปกติ
Troponin-I หรือT และ Pro-Brain-type natriuretic peptide
อาจสงูกว่าปกติ
การรักษา
Anticoagulation ผู้ป่วยส่วนมากในกลุ่มนี้จะได้รับการรักษาโดยการให้ anticoagulation คือให้ heparin ในหลอดเลือดดำในช่วงแรกและการให้ยา Coumadin ต่ออีกเวลา ประมาณ 3 เดือน ส่วนในผู้ป่วยที่มีการเกิด PE ซ้ำแล้วซ้ำอีกอาจจะ พิจารณาการให้ยา Anticoagulation ตลอดชีวิต
Thrombolytic therapy มักจะเก็บไว้ในผู้ป่วยที่มีกรณี massive pulmonary emboli ที่มีระบบหัวใจ และปอดทำงานผิดปกติมีผลกับ haemodynamic อย่างรุนแรง
Caval filter คือการใส่ตะแกรงกรอง embolism ใน inferior vena cava ตัวกรองเหล่านี้จะเป็นตัวเก็บก้อนเลือดซึ่งมาจากขาหรือ iliac vein
นางสาวธัญญารัตน์ ศรีโชคสิทธิกุล 6001210118 เลขที่ 5 Sec.A