Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กโรคมะเร็งระยะสุดท้ายของชีวิต, FaceQ1425641390875, image, image,…
การดูแลเด็กโรคมะเร็งระยะสุดท้ายของชีวิต
:check:
การรับรู้ความตายในเด็กแต่ละช่วงอายุ
แรกเกิด-1ปี
: ไม่มีการรับรู้เกี่ยวกับความตาย
1-3 ปี
: คิดว่าคนที่ตายแล้วจะกลับมาได้อีก เหมือนคนนอนหลับ
3-6 ปี
: การตายคือการแยกจาก แต่ยังไม่เข้าใจถึงการแยกจากแบบถาวร คือ การไม่เคลื่อนไหว และมักเกิดกับคนสูงอายุ คนที่ขึ้นสวรรค์
6-12 ปี
: ความตายเป็นการแยกจากกันอย่างถาวร ไม่เกิดกับทุกคน โดยเฉพาะกับตัวเขา และเป็นผลจากการกระทาของคน เช่น โรคภัยไข้เจ็บหรืออุบัติเหตุ กลัวในสิ่งที่จินตนาการไว้มากกว่าที่เป็นจริง
วัยรุ่น
: การตายเป็นการจากกันอย่างถาวรและหลีกเหลี่ยงไม่ได้ และเป็นจุดจบของชีวิตแต่เด็กคิดว่ายังไม่ถึงเวลาที่เขาจะตาย
การพยาบาลแบบองค์รวม
:check:
ด้านร่างกาย
= ควบคุมความเจ็บปวด รักษาตามอาการ อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ต้องการ
ด้านจิตใจ
= ได้รับความรัก ยอมรับความตายที่จะมาถึง ระบายและปลดเปลื้องสิ่งที่ค้างคาใจ จิตใจจดจ่อกับสิ่งที่ดีงาม ปล่อยวาง
ด้านสังคม
= ครอบครัว เพื่อน มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน ให้อภัยกัน จัดการภารกิจที่คั่งค้างสาเร็จ ไม่มีห่วง วางแผนหรือเตรียมจัดการหลังความตาย
ด้านจิตวิญญาณ
= ระลึกถึงความหลัง อโหสิกรรม ระลึกถึงสิ่งดีงาม คำสอนทางศาสนา ปล่อยวาง เกิดจิตเป็นกุศล
ข้อควรปฏิบัติต่อผู้ป่วยเด็ก
:warning:
ให้ความรัก ความอ่อนโยน ความเมตตากรุณา ซื่อสัตย์ อดทน จริงใจ
พูดคุยด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย เป็นผู้รับฟังที่ดี พร้อมที่จะตอบคำถามง่ายๆ ไม่ควรห้ามเด็กไม่ให้ถาม และอย่าเปลี่ยนเรื่องเมื่อเด็กต้องการถาม
ให้ข้อมูลเมื่อเด็กพร้อมตามความต้องการของเด็กที่อยากรับรู้
ให้เด็กเผชิญความเศร้าโศกในวิถีทางของเขา และช่วยประคับประคองให้ผ่านไปด้วยดี
ช่วยให้เด็กหาหนทางที่จะแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนเองออกมา
สอบถามหรือค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับความเศร้าโศกของเด็ก
ให้ความรักแก่เด็กอย่างต่อเนื่อง ให้ความมั่นใจและส่งเสริมกำลังใจแก่เด็ก
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
:check:
:red_flag:
การดูแลทางกาย
การบำบัดความปวด (pain management) ประเมินความปวดในเด็กแต่ละวัยอย่างเหมาะสม
บำบัดภาวะเหนื่อยหอบ (respiratory management) ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื้อ
รักษาภาวะไข้และการติดเชื้อ อาจเกิดจากการติดเชื้อตัวผู้ป่วยเองหรือโรค
การขาดอาหาร ควรให้อาหารเท่าที่เด็กรับได้และต้องการไม่บังคับ
การยื้อชีวิต ควรให้ข้อมูลเป็นระยะ และควรประเมินการตัดสินใจของเด็กและครอบครัวเมื่อถึงเวลาอันควร
:red_flag:
การดูแลด้านจิตสังคม
ให้การปรึกษาแก่ครอบครัวผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้าย ประเมินความเข้าใจของพ่อแม่หรือผู้ดูแลหรือเด็ก
ประเมินปัญหาสังคมและเศรษฐานะ เด็กระยะสุดท้ายโดยเฉพาะเด็กเรื้อรัง
ประเมินความต้องการของเด็กและครอบครัวเมื่อเข้ามารักษาในโรงพยาบาล
การติดตามเยี่ยมบ้าน (home visit) เพื่อประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยเด็กและครอบครัวขณะอยู่ที่บ้าน
:red_flag:
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
:
เคารพ ใส่ใจ ประเมินปัญหาและความต้องการด้านจิตวิญญาณของเด็กและครอบครัว
ดูแลหรือให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของเด็กและครอบครัว
เอื้ออำนวยความสะดวกให้ครอบครัวสามารถประกอบพิธีกรรมต่างๆ ในหอผู้ป่วย
นางสาวปิยธิดา เตราชูสงค์ เลขที่ 37