บาดเจ็บจากการคลอด
(Birth injury)
1.การบาดเจ็บของ Soft tissue
Subcutaneous of necrosis
Bruising and petechiae
บาดแผลฉีกขาด
เป็นการบาดเจ็บจากการคลอดที่พบบ่อยที่สุดในการผ่าท้องคลอด
เกิดจากการขาดเลือดของเนื้อเยื่อไขมันบริเวณที่พบบ่อยคือไหล่และก้น
ลักษณะผิวหนังบวมช้ำและมีจุดเลือดออก
2.การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Caput succedaneum
คือการบวมของบริเวณศีรษะเหนือ periostreum ส่วนที่บวมจึงอาจข้าม suture lines ได้บริเวณที่บวมคำขอบได้ชัดเจนตรวจพบตั้งแต่แรกคลอดมักมีขนาดเล็กและหายไปเองภายในเวลาเป็นชั่วโมง หรือ 2-3 วัน
Cephalhematoma
เกิดจากการฉีกขาดของเส้นเลือดใต้ชั้น periostreum ทำให้มีเลือดออกใต้ต่อ periostreum พบบ่อยบริเวณกระดูก parietal และ occipital bone และลักษณะที่ตรวจพบจากคำได้เป็นก้อนขอบชัดเจนโดยอยู่บนกระดูกชิ้นเดียวไม่ข้ามซึ่งมักทำให้เสียเลือดเพียงเล็กน้อยแต่อาจทำให้เกิดภาวะซีดหรือตัวเหลืองได้ จะหายไปเอง 1 สัปดาห์ ถึง 1 เดือน
Subgaleal hemorrhage
มีเลือดออกข้างอยู่ใน subgaleal space ระหว่าง periostreum ของกะโหลกศีรษะกับ aponeurosis จากการฉีกขาดของเส้นเลือด
กะโหลกศรีษะเเตก
มักเเตกเป็นการเเตกในเเนวเส้นตรง ซึ่งพบร่วมกับ Cephalhematoma
3.การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกไหปลาร้าหัก
สามารถหายได้เองไม่มีผลระยะยาวควรให้การปรึกษาพ่อแม่เพื่อลดความวิตกกังวลอาจให้ยาแก้ปวดและลดการเคลื่อนไหวของแขนเพื่อลดความเจ็บปวด
intracranial hemorrhage
กระดูกต้นเเขนหัก
สามารถหายได้เองไม่มีผลระยะยาวควรให้การปรึกษาพ่อแม่เพื่อลดความวิตกกังวลอาจให้ยาแก้ปวดและลดการเคลื่อนไหวของแขนเพื่อลดความเจ็บปวด
กระดูกต้นขาหัก
มักพบในรายคลอดท่าก้นทางช่องคลอด
การหักของกระดูกอื่นๆ
กระดูกจมูก กระดูกขากรรไกร กระดูกใบหน้าและ septal cartilage อาจทำให้ทารกหายใจลำบากและมีปัญหาการดูดนม
การเคลื่อนหลุดของข้อต่อ
เกิดจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติตั้งแต่อยู่
ในครรภ์ จากภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ
sternocleidomastoid
ทำให้เกิดเป็นก้อนเลือดในกล้ามเนื้อ ทำ
ให้กล้ามเนื้อไม่ได้สามารถยืดขยายได้
ภาวะคอเอียง (torticollis)
4.การบาดเจ็บของระบบประสาท
การบาดเจ็บของ
Brachial plexus
Erb หรือ Duchenne
paralysis
เกิดจากการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C5 C6 และอาจมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C7 รวมด้วย
click to edit
Klumpke paralysis
เกิดจากการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C8 และ T1อาจทำให้มือทารกข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
Total brachial
plexus paralysis
ทำให้ทั้งมือและแขนของ
ทารกมีอาการอ่อนแรง
Neonatal Brachial
Plexus Injury (NBPI)
ไม่หายภายใน 12 เดือน ซึ่งในกลุ่มนี้ มีความเสี่ยงที่ความพิการของเส้นประสาทจะเป็นแบบถาวร
5.การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่อง
การบาดเจ็บของเส้นประสาทของใบหน้า
การบาดเจ็บของเส้นประสาท mandibular branch ทำให้ทำรกเคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวกับที่มีการบาดเจ็บ หนังตาปิดไม่สนิทและไม่สามารถใช้กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนล่างได้
การบาดเจ็บของ Phrenic nerve
การบาดเจ็บของ
Laryngeal
paralysis ของเส้นเสียง วินิจฉัยโดย
การทำ direct laryngoscopy
การบาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลัง
คลอดท่าก้นทางช่องคลอดและทารกที่มี
ขนาดใหญ่ ปัญหาที่พบคือตับแตก
6.การบาดเจ็บของบริเวณใบหน้า
การบาดเจ็บของจมูก
จมูกของทารกถูกกดอยู่กับกระดูก symphysis pubis หรือ promontory of sacrum หากรุนแรง
อาจทำให้ทารกหายใจลำบาก
ต้องได้รับการรักษาเพื่อไม่ให้เกิดความผิดปกติ
ของกระดูกจมูก และ nasal septum
นายบดินทร์ คณะพันธ์ เลขที่ 35 ข รุ่นที่ 48 รหัสนักศึกษา 6006010118
ความหมาย
การที่ทารกได้รับอันตรายจากกระบวนการคลอด ซึ่งส่งผลให้มีการบกพร่องของการทางานหรือความผิดปกติทางโครงสร้างของร่างกายทารกแรกเกิด
ปัจจัยเสี่ยง
click to edit
• ทารกมีขนาดใหญ่
• ภาวะอ้วนของหญิงตั้งครรภ์
• ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
• การท าสูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยคลอด
• การผ่าตัดคลอด
• ปัจจัยอื่นๆทางด้านมารดา
Subarachnoid hemorrhage
subdural hemorrhage
epidural hemorrhage
intracranial hemorrhage
click to edit
เกิดการฉีกขาดของเซลล์เลือดในสมองส่วน subepenndymal germinal matrix
click to edit
รุนแรงที่สุด
50% ไม่มีอาการ
จะทำให้ทารกขาดออกซิเจนอย่าง รุนแรงจนเสียชีวิตได้
พบไม่บ่อย
ปัจจัยเสี่ยงคือคลอดท่าก้นทางช่อง คลอด,ทารกมีขนาดใหญ่