Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ, Rib-Fracture, 22-0, images, files…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
ลักษณะและอาการแสดงของการได้รับบาดเจ็บบริเวณทรวงอก
ภาวะอกรวน (Flail Chest)
หากพบว่ากระดูกซี่โครงหักอย่างน้อย 2 แห่ง ทำให้ผนังทรวงอกบริเวณกระดกูซี่โครงที่หักขยับเขยื้อน
Flail Chest มีผลทำให้การ หายใจมีปริมาณออกซิเจนลดลงและการระบาย CO2 ลดลง
Penetrating Chest Wounds ผนังทรวงอกทะลุฉีกขาด
Tension Pneumothorax เกิดจากการมีลมรั่วจากปอดข้างที่ได้รับ บาดเจ็บลมรั่วจากอากาศภายนอกเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด
Massive Hemothorax เกิดเลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอด อย่างเฉียบพลัน
Cardiac temponade เกิดจากเลอืดเข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial sac)
กระดูกซี่โครงหัก (Fractures of the Ribs)
ตรวจประเมินวินิจฉัยภาวะ internal injury และภาวะ Shock เสมอ เพราะอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
อาจหักเพียง 1 หรือหลายซี่ ผู้ป่วยจะมีอาการปวด บริเวณที่หัก และหายใจลำบาก จาการตรวจร่างกายจะพบอาการกดเจ็บบริเวณที่หัก
ภาวะฉุกเฉินรุนแรงที่เกิดจากการบาดเจ็บทรวงอก
Hypercapnia
เกิดจากการ Ventilation ไม่เพียงพอ จากการเปลี่ยนแปลงความดัน ในช่องอก ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดภาวะสมองพร่องออกซิเจนและระดับความรู้สึกตัวลดลง
Metabolic acidosis
จากการเพิ่ม Lactic acid ในร่างกายที่มาจาก Tissue hypoperfusion จากภาวะ Shock
Tissue hypoxia
เกิดภายหลังการบาดเจ็บทรวงอกจนทำให้เกิดการเสียเลือด
ภาวะการเปลี่ยนแปลงของความดันใน ช่องอกเช่น Pneumothorax อาจทำให้การขนส่งออกซิเจนไปส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บทรวงอก
Primary survey
B. Breathing
ประเมินจากการ ดู คลำ เคาะ ฟัง
ดูการโป่งพองของเส้นเลือดดำที่คอ
C. Circulation
คลำชีพจร ประเมินอัตรา ความแรง จังหวะความสม่ำเสมอ
ดู สี อุณหภูมิผิวหนังบริเวณปลายมือปลายเท้า
A. Airway
ฟังเสียงหายใจ
ค้นหาสิ่งแปลกปลอมที่ทำใหเ้กิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
การพยาบาล
ทำการสำรวจขั้นต้น
ทางเดินหายใจ และการหายใจ ช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก
ถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะ Shock ควรให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ หรือให้เลือดในรายที่เสียเลือดมาก
วัดสัญญาณชีพ เพื่อดูอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
hypoxia เป็นอาการแสดงความรุนแรงที่สุดของการได้รับบาดเจ็บทรวงอก ดังนั้นต้อง มี early interventions ไว้ป้องกันแก้ไขภาวะ hypoxia
Immediately life-threatening injuries ต้องได้รับการรักษาอย่างทันทีทันใดและด้วยวิธีง่ายๆเท่าที่จำเป็น
กรณีตรวจพบกระดูกซี่โครง
หักแบบธรรมดา
กรณีมีแผลเปิดแล้วมีลักษณะปากแผลถูกดูดขณะ
หายใจเข้าให้สงสัยว่าเกิดภาวะ Hemothorax
กรณีซี่โครงหักหลายซี่ในจุดเดียวกันให้นอนทับด้านที่บาดเจ็บเพื่อให้ปอดข้างที่ดีทำงานได้เต็มที่
กรณีไม่มีการบาดเจ็บอื่นร่วมด้วยหรือไม่รู้สึกตัวให้ทำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในท่านั่ง
กรณีตรวจพบ Flail chest
ให้หาวิธีไม่ให้บริเวณที่หักเกิดการเคลื่อนไหว อาจใช้หมอน รองบริเวณที่หักใช้ผ้าพันรอบทรวงอก
กรณีตรวจพบ
Penetrating ChestWounds
ให้รีบปิดแผลอย่างเร็วที่สุดป้องกันไม่ให้มีอากาศเข้าไปในchest cavityมากขึ้น วัสดุที่ใช้ปิดแผลเช่น Vaseline gauze, plastic wrap
กรณีที่มีมีดปักอยู่ห้ามดึงมีดออกแต่ให้ปิดแผลให้หนาแน่นรอบวัสดุป้องกันอากาศภายนอกเข้าสู่ chest cavity
กรณีที่มีหรือสงสัยว่ามี Tension Pneumothorax หรือ Hemothorax ใน chest cavity ให้รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
นางสาวธัญญารัตน์ ศรีโชคสิทธิกุล 6001210118 เลขที่ 5 Sec.A