Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
ระบบไหลเวียนโลหิต
วงจรไหลเวียนทั่วกาย(systemiccirculation)
ออกจากLVไปสู่ร่างกายแล้วกลับเข้าRA
วงจรใหญ่(greater circulation)
วงจรไหลเวียนผ่านปอด(pulmonary circulation)
เลือดที่เข้าRAจะเทลงสู่RVแล้วส่งไปปอดแล้วจะกลับมาเข้าLAใหม่
วงจรเล็ก(lesser circulation)
การไหลเวียนโลหิต
หัวใจ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด(congenital heart disease)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว(Acyanotic)
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ
สาเหตุ
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด
การติดหัดเยอรมันในระยะ
Ventricular Septal Defect (VSD)
Atrial Septal Defect (ASD)
Coarctation of aorta
การตีบตันของ aorta ส่วนใหญ่เกิดที่ aorticisthmus ใต้ left subclavian artery
Preductal type มีการตีบก่อนถึง ductus arteriosus
มักจะเสียชีวิตตั้งแต่เล็ก
Ductal type ส่วนที่ตีบอยู่ต่อ Ductus
Postductal type มีการตีบใต้ต่อ ductus arteriosus
Pulmonary Stenosis
Aortic Stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว(Cyanotic)
Tetralogy of fallot (TOF)
anatomic malformations
Right Ventricular Hypertrophy
Pulmonary Valve Stenosis
Overriding of aorta
Ventricular Septal Defect
Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก RV และ
pulmonary artery ออกจาก ventricle ซ้าย
Pulmonary atresia
Pulmonary valveตันหรือตีบ
มากจนเลือดผ่านไม่ได้
Tricuspid atresia
ไม่มีTricucpid valve ทำให้เลือดเข้า RV ไม่ได้
ทำให้เลือดจาก RA ต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDAหรือ VSD
ถ้ามีtransposition of great artery ร่วมด้วยจะมีCHF
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ(Stenoticvalve)
ลิ้นหัวใจแคบลง/แข็ง/หนา/ติดกัน/
กีดกั้น ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
การอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจหลังการติดเชื้อ
Group A Streptococcalpharyngitis
Rheumatic heart disease
ลิ้นไตรคัสปิ ดตีบ (Tricuspid stenosis)
Acute rheumatic fever ทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น (endocarditis,myocarditis pericarditis)
Rheumatic carditis
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
การสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ
ลิ้นพูลโมนิคตีบ(Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว(Regurgitate valve)
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิททำให้เลือดไหลย้อนกลับ
Aortic regurgitation
Pulmonary regurgitation
Tricuspid regurgitation
Mitral regurgitation
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease)
มักพบในเด็ก
เป็นสาเหตุของโรคลิ้นหัวใจพิการ(ตีบ รั่ว)
สาเหตุ
เกิดจากติดเชื้อคออักเสบ หรือ ต่อมทอลซิลอักเสบ
จากเชื้อโรคชื่อ Beta- hemolytic Streptococcus Group A
ผลที่ตามมา
เกิดผังผืดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ (fibrosis)
ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ (ลิ้นหัวใจตีบ)
หรือปิดไม่สนิท (ลิ้นหัวใจรั่ว)
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative)
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
เปรียบเทียบความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจที่รั่ว(Regurgitation)
ปิดไม่สนิท
เลือดไหลย้อนกลับ
ลิ้นหัวใจตีบ(Stenosis)
เปิดไม่เต็มที่
เลือดไหลออกไม่สะดวก
สาเหตุความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
โรครูห์มาติค(Rheumatic fever)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลัง
Bacterial endocarditis
การติดเชื้ออื่นๆที่มีการท าลายลิ้นหัวใจ
Atherosclerosis
Endocarditis(เยื่อบุหัวใจอักเสบ)
ลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว เรียก Vegetation
Non-infective Endocarditis
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
หลอดเลือดหัวใจ
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
Aorta
Left anterior descending artery
circumflex coronary artery
Right coronary artery
Left main coronary artery
โรคหลอดเลือดหัวใจ หรือ โรคหัวใจขาดเลือด
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ
กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ oxygen ไม่เพียงพอ
ST Elevation MI กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและตายเฉียบพลัน
ปวดหัวใจจากการขาดเลือด
แบบคงที่ (Stable angina)
ตำแหน่งตีบตันทั่วไปคงที่
มีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจพอเพียง
ถ้าเริ่มทำงานแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้น
เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจในปริมาณเดิมก็จะไม่เพียงพอ
แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
ภาวะที่เส้นเลือดหัวใจตีบตัน
อาจเกิดขึ้นทั้งๆที่ไม่เคยเจ็บหน้าอกมาก่อน
อันตรายกว่าแบบคงที่ (Stable angina)
อาจเป็น( Heart attack) ได้
เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร จะมีอาการรุนแรงมาก เหงื่อออก หมดแรง
สาเหตุ
ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัวจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนเกิดการอุดตัน
ถ้าเส้นเลือดแดงตันเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
การเกิดรอยแตกที่คราบไขมันซึ่งพอกผนังเส้นเลือดแดง
เม็ดเลือดขาวมาควบคุมเกิดปฏิกิริยา
การอักเสบแล้วมีการคั่งแข็งตัวของเลือด
atherosclerosis ภาวะหลอดเลือดแข็ง
ตำแหน่งที่พบ
Abdominal aorta
พยาธิสภาพ
พบไขมันสะสมในTunica intima
เป็นแผ่นนูน(Plaque) เรียกว่า atheroma
สาเหตุ
อาหารและภาวะHypercholesterolemia
Hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
monckeberg medial calcific sclerosis
มี calcification ชั้น Tunica media
buerger's disease (thromboangiitis obliterans) : TAO
ลักษณะของโรค
ไม่มี atheromas
การอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
มักเกิดกับหลอดเลือดแดงขนาดเล็กหรือกลาง
เกิดกับหลอดเลือดดำาของทั้งส่วนบนและล่าง
อาการ
ปวดในตำแหน่งที่ขาดเลือด เช่น ขา แขน
เป็นแผลเรื้อรัง
นิ้วมือนิ้วเท้าเน่าตาย
สาเหตุ
การสูบบุหรี่ี/ได้รับควันบุหรี่
Aneurysm หลอดเลือดแดงโป่งพอง
การโป่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่ (localized)และเป็นอย่างถาวร
True การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
ชนิดของaneurysm
Fusiform aneurysm การโป่งพองตามแนว axisof vessel
Saccular aneurysm การโป่งพองตามแนวtangential of axis
Dissecting aneurysm การโป่งพองที่มีการแยก
ชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
สาเหตุ
เกิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลงจึงทำให้
Congenital
Berry aneurysm
Acquired
Trauma / iatrogenic
Inflammation / infectionSyphilis
Degeneration
atherosclerosis
ตำแหน่งที่มักพบ
Aorta
Iliac artery
femoral artery
popliteal artery
Circle of Willis
Splenic artery
hepatic artery
mesenteric artery
abdominal aortic aneurysm (AAA)
โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ต้าในช่องท้องโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
มีความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุเกิน 60 ปี
มีญาติสายตรงเป็ น AAA: แม่/น้องชาย
อาการแสดง
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้ายหัวใจเต้น
คลำได้ก้อน เต้นได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรงทันทีทันใด
ปวดขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
โรคของหลอดเลือดดำ
Varicose vein
etiology สาเหตุ
Primary varicose vein
Secondary varicose vein
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis
โรคที่พบ
hemorrhoid
Thrombophlebitis
esophageal varices
หน้าที่
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำของเสียคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เพื่อขับถ่ายออกนอกร่างกาย
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมอุณหภูมในร่างกายให้ปกติ
ลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย