Coggle requires JavaScript to display documents.
Myocardial Cells เป็นเซลล์โครงร่างของหัวใจ ถูกกระตุ้นโดยกระแสไฟฟ้าได้
ventricular depolarization
กว้าง 0.06-0.12sec
Q ปกติไม่เกิน 1 mm
QRSสูง 10 - 25 mm
ventricular repolarization
upright ใน lead I,II,V3-V6
invert ใน aVR
เป็นอาการที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ อาจเต้นเร็วหรือช้าเกินไป ทำให้การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพ และอาจส่งผลให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหลอดเลือดสมองอุดตันได้
- อัตราส่วนผู้ป่วยเพศหญิงต่อเพศชาย 1 : 1.3
ควรให้ยาต้านเกร็ดเลือด 2 ชนิด ร่วมกัน เช่น ให้aspirin ร่วมกับ clopidogrel
ให้ยาlow molecular weight heparin เช่น Enoxaprin เป็นเวลา 3-5 วัน ร่วมกับยากลุ่มnitrates, beta-blockers เพื่อบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
พิจารณาให้ยากลุ่ม narcotics หรือ analgesics ในรายจำเป็นตามข้อบ่งชี้
ติดตามอาการเปลี่ยนแปลง และคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นระยะ หากยังเจ็บหน้าอกมากหรือมี cardiogenic shock, หัวใจล้มเหลว, หัวใจเต้นผิดจังหวะรุนแรง ควรพิจารณาขยายหลอดเลือดหัวใจ หรือส่งผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีความพร้อม
ควรรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านเกล็ดเลือดทุกราย
พิจารณาเปิดเส้นเลือดหัวใจที่อุดตันอย่างเร่งด่วน ด้วยวิธีให้ยาละลายลิ่มเลือด (thrombolytic agent)ภายใน 30 นาที หรือ primaryPCI ภายในเวลา120 นาที
ยาละลายลิ่มเลือด มี 2 กลุ่ม คือกลุ่ม fibrin non-specific agents เช่น Streptokinase และ กลุ่ม fibrin specific agents เช่น Alteplase (tPA) ยากลุ่มหลังมีข้อดีกว่าคือ ไม่ทำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อต้านฤทธิ์ยา ไม่ทำให้BPลดต่ำลง
ข้อบ่งชี้การให้ยาละลายลิ่มเลือด คือผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลันชนิด ST-segment elevation เป็นภายในเวลา 12 ชั่วโมง
ควรพิจารณาให้การรักษาด้วยยา heparin และ ยาบรรเทา อาการเจ็บเค้นอกตามข้อบ่งชี้เป็นรายๆ
มีประวัติ hemorrhagic stroke
มีประวัติ nonhemorrhagic stroke ใน 1 ปีที่ผ่านมา
ตรวจพบเลือดออกในอวัยวะภายใน เช่น ทางเดินอาหาร
ได้รับบาดเจ็บรุนแรง / เคยผ่าตัดใหญ่ภายในเวลา 4 สัปดาห์
สงสัยว่าอาจมีหลอดเลือดแดงใหญ่แทรกเซาะ
BP > 180/110 mmHg ที่ไม่สามารถควบคุมได้
มีภาวะเลือดออกง่ายผิดปกติหรือได้รับยากลุ่ม warfarin (INR > 2)
ได้รับการกู้ชีพ (CPR) นานเกิน 10 นาที
ตั้งครรภ์
สังเกตอาการเจ็บแน่นหน้าอก อาการเหนื่อยของผู้ป่วย และอาการอื่นๆ
ติด Monitorเพื่อติดตามสัญญาณชีพและ EKG อย่างใกล้ชิด หลังผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือด
ติดตามEKG 12 lead ทุก 30 นาทีเพื่อประเมินการเปิดของหลอดเลือดหัวใจ โดยดูจาก ST segment ลดต่ำลงอย่างน้อย 50% ภายในเวลา 90-120 นาทีหลังเริ่มให้ยาละลายลิ่มเลือด
ควรส่งต่อผู้ป่วยเพื่อทำการขยายหลอดเลือดหัวใจในสถานพยาบาลที่มีความพร้อมโดยเร็วที่สุด หากอาการเจ็บหน้าอกไม่ดีขึ้น และไม่มีสัญญานของการเปิดหลอดเลือดภายในช่วงเวลา 90-120 นาที
เจ็บแน่นหน้าอก เนื่องจากปริมาณเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
ปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง เนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ
อาจเกิดภาวะ Cardiogenic shock จากปริมาตรการไหลเวียนลดลง
มีโอกาสเกิดภาวะ แทรกซ้อนเนื่องจากได้รับยาละลายลิ่มเลือด
เกิดความวิตกกังวล ต่ออาการและการดำเนินของโรคซึ่งคุกคามต่อชีวิต