Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความ…
บทที่ 5 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
-
-
-
-
-
-
-
Valvular Heart Disease
-
Mitral vale stenosis
-
พยาธิภาพ
การอักเสบของลิ้นหัวใจทำให้เกิดความแข็ง หนา หดรัด ดึงรั้งของลิ้นหัวใจ ทำให้รูเปิดแคบลง เลือดไหลไม่สะดวกทำให้เกิดเลือดไหลวน ความดันในเอเตรียมซ้ายสูงขึ้น และหลอดเลือดแดงที่ปอดความดันสูงขึ้น ถ้าเป็นรุนแรงมากขึ้นจะทำให้มี Arial fibrillation เกิดลิ่มเลือดในเอเตรียมซ้าย และหัวใจล้มเหลว
อาการ
เหนื่อยล้า หายใจลำบากเวลาออกแรง นอนราบไม่ได้ หอบเหนื่อยกลางคืน ไอเป็นเลือด ตับโต ขาบวมกดบุ๋ม Atria fibrillation เขียว และ murmur
การรักษา
-
การปรับพฤติกรรม ควบคุมอาหาร จำกัดเกลือ งดบุหรี่ สุรา การทำฟัน การออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมกับระยะของโรค
-
Aorta valve stenosis
อาการ
เจ็บหน้าอกแบบ Angina หายใจลำบาก หมดสติเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ล้า นอนราบไม่ได้ มีเหนื่อยหอบกลางคืน เสียงหัวใจผิดปกติแบบ Harsh Crescendo-decrescendo ในช่วงหัวใจบีบตัว
ประเมินสภาพ
เหมือนโรคลิ้นหัวใจอื่นๆ การตรวจที่สำคัญและค่อนข้างแม่นยำคือ EKG, Myocardial nuclear perfusion imaging, Echocardiogram, เอกซเรย์ปอด และการสวนหัวใจ
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด และความเสื่อมของลิ้นหัวใจจากหินปูนเกาะลิ้นหัวใจเมื่ออายุสูงขึ้น ติดเชื้อลิ้นหัวใจ หรือเป็นไข้รูมาติค ทำให้ลิ้นหัวใจหนา หดรัด มีหินปูนเกาะ
การรักษา
-
ในระยะรุนแรง การผ่าตัดเป็นการรักษาที่ดีที่สุด ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก Anginaและหมดสติ ต้องได้รับการแก้ไขทันที ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะมีอัตราการตายสูงขึ้น
-
Heart Failure
อาการ
-
-
ซีด เขียวคล้ำ (Cyanosis) จากการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายไม่ดี (Peripheral insufficiency)
-
-
-
-
-
-
-
Aneurysm
-
การรักษา
ถ้าหลอดเลือดแดงใหญ่ไม่โตมากให้เฝ้าระวังอาการ แต่ถ้าก้อนโตมากต้องพิจารณาผ่าตัดซึ่งมีภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก คือ เสียชีวิต จาก เสียเลือด DIC, ARDS, renal failure ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวคือ Graft, aorto-enteric fistula thrombosis และ infection
ถ้ามีอาการ แน่นหน้าอก ปวดหลัง หน้ามืด เป็นลมหรือไอเป็นเลือดให้ระวังการปริแตกของ Anuerysm ผู้ป่วยที่มาด้วยก้อนแตก ต้องผ่าตัดโดยด่วน มีอัตราการตายสูง
อาการ
ผู้ป่วยมักมาโรงพยาบาลด้วยอาการ คลำก้อนได้ที่หน้าท้องใต้ลิ้นปี่ ปวดท้องเรื้อรัง มีก้อนเต้นที่ท้องสัมพันธ์กับชีพจร ถ้ามีแรงดันในช่องท้อง การกดหรือกระแทกรุนแรง อาจทำให้เกิดการแตกได้
Pericarditis
-
สาเหตุ
-
สารพิษ (Toxic agent) เช่น Lithium, cocaine, alcohol
การใช้ยา Procainamide, Hydralazine หรือ Phenytoin
-
ปฏิกิริยาออโต้อิมมูนของร่างกาย ได้แก่โรค SLE, ไข้รูมาติค และหลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย 1-4 สัปดาห์ (Dessler’s syndrome)
-
ติดเชื้อ ได้แก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย วันโรค เชื้อรา พยาธิ ไข้รูมาติก การติดเชื้อในร่างกาย หรือจากการไม่ติดเชื้อ ได้แก่ กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะยูรีเมีย
เป็นภาวะที่เกิดจากการอักเสบติดเชื้อที่เยื่อหุ้มหัวใจ ผู้ป่วยมักจะมาด้วยอาการสำคัญคือ เจ็บหน้าอก ฟังเสียงหัวใจได้เสียง friction rub ตรวจคลื่นหัวใจผิดปกติ
Myocarditis
การรักษา
การให้ยารักษาภาวะกล้ามเนื้อหัวใจทำงานลดลง เช่น ยากลุ่มขยายหลอดเลือด (Vasodilator) เช่น ไนโตรกลีเซอรีน หรือ โซเดียมไนโตรปลัสไซด์
การรักษาโดยไม่ใช้ยา ได้แก่ การสังเกตการทำงานของหัวใจและระบบไหลเวียน การควบคุมน้ำ และการให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การให้ยาคุ้มกันหรือยาต้านการอับเสบ การให้ยาดังกล่าวในผู้ป่วยที่ผล biopsy ยืนยันค่าเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจอับเสบจริง แล้วพบว่าอาการดีขึ้น
-
การช่วยเหลือการทำงานของหัวใจ โดยใช้เครื่องช่วยการทำงานของหัวใจ แบบพิเศษ (Intraaortic balloon pump หรือ Extracorporeal membrane oxygenation) รวมทั้งการให้ออกชิเจนเพื่อพยุงช่วยเหลือปอดและหัวใจ
อาการ
-
-
อาการเหมือนไข้หวัดใหญ่ (Flu-live symptom) มีไข้ หนาวสั่น เหงื่อออกปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อาเจียน และท้องเสีย และร่วมกับ อ่อนเพลียจนหมดเรี่ยวแรง
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายจากเชื้อโรคเช่น เชื้อไวรัส ได้แก่ Coxackiea, Coxackie b, Influeneae, Admovirws, CMV, EBV เป็นต้น
ส่วนเชื้อ Bacteria และเชื้อราก็พบได้ ในแง่ของสาเหตุของโรคอื่นๆ ก็พบได้จากโรคเนื้อเยื้อเกี่ยวพัน (Connective tissue disease) เช่นโรคลูปัส และอาจเกิดจากยาบางชนิดก็ได้
Endocarditis
-
อาการ
ในรายที่ไม่รุนแรง ไม่มีอาการแสดง อาการทั่วไปจะเริ่มจาก อ่อนเพลีย ไข้ เม็ดเลือดขาวสูง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้าอกหายใจลำบาก ถ้ามีอาการมากขึ้นจะมีภาวะหัวใจวายร่วมด้วย
-
สาเหตุ
ที่ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อราที่พบส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งมักเข้าสู่กระแสเลือดได้ จากทางเข้าหรือแผลเปิดส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย ซึ่งสาเหตุสำคัญคือ ไข้รูมาติค ไข้หวัดใหญ่ เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในอักเสบ