Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม (Orem’s self-care theory), นางสาว อัจฉรา…
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
(Orem’s self-care theory)
โดโรธี อี โอเรม
ควบคุมความสามารถในการดูแลตนเอง ซึ่งบางคร้ังบุคคล อาจจะกระทำด้วยตนเองหรือพึ่งพาผู้อื่นการดูแลตนเองมีเป้าหมายและเป็นสิ่งที่จาเป็นสำหรับมนุษย์ ในการสร้างความสมบูรณ์ของโครงสร้างการทำหน้าที่ต่างๆ และการพัฒนาเพื่อการมีสุขภาพที่ดี
หลักของทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
บุคคล (Person)
ผู้ที่มีความสามารถในการทำหน้าที่ใน ด้านต่างๆ เข้าด้วยกันท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ สัมพันธภาพระหว่างบุคคล และสังคม
โอเร็ม เชื่อว่า
บุคคลมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
สิ่งแวดล้อม (Environment)
เป็นลักษณะทางกายภาพ เคมี ชีวภาพ และ สังคมวัฒนธรรมบุคคลกับส่ิงแวดล้อมมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันไม่สามารถแยกจากกันได้
ส่ิงแวดล้อม จะมีผลท้ังทางบวกและทางลบต่อการดาเนินชีวิต สุขภาพ ความผาสุกของบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน
สุขภาพ (Health)
เป็นภาวะของร่างกาย จิตใจ สัมพันธภาพระหว่างบุคคล และสังคมท่ีเป็นความต่อเนื่องกันโดยไม่สามารถแยกจากกันได้
บุคคลที่มีสุขภาพดีจะมีโครงสร้างที่ สมบูรณ์ สามารถทาหน้าที่ของตนได้ และมีการดูแลตนเองในระดับที่เพียงพอและต่อเนื่อง
การพยาบาล (Nursing)
เป็นการช่วยเหลือบุคคลให้สามารถดูแลสุขภาพของ ตนเองได้อย่างต่อเนื่องและเพียงพอกับความต้องการในการดูแลตนเอง
กระบวนการพยาบาลจะ มุ่งเน้นในการช่วยเหลือบุคคลต่อการดูแลสุขภาพ
ทฤษฎี
ทฤษฎีการดูแลตนเอง (The theory of self- care)
การดูแลตนเอง (Self-care: SC)
การปฏิบัติกิจกรรมที่บุคคล กระทาด้วยตนเองเพื่อดารงไว้ซึ่งชีวิต สุขภาพ และความผาสุก
การกระทาน้ันมีประสิทธิภาพจะมี ส่วนช่วยให้โครงสร้าง หน้าที่ และพัฒนาการดาเนินไปถึงขีดสูงสุดของแต่ละบุคคล
ความสามารถในการดูแลตนเอง (Self-care agency: SCA)
ความสามารถของบุคคลที่เอื้อต่อการกระทำกิจกรรมการดูแลตนเองอย่างจงใจ โดยมีความแตกต่างกันไปตามระยะพัฒนาการ
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด (Therapeutic self-care
demand: TSCD)
ความต้องการการดูแลตนเองโดยท่ัวไป (Universal self- care requisites: USCR)
เป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคนในทุกๆ ช่วงชีวิต
การทำกิจกรรมและการพักผ่อน การมีเวลาส่วนตัวและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
การป้องกันอันตรายต่อชีวิต และการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนาการในสังคม
ความต้องการการดูแลตนเองตามระยะพัฒนาการ
(Developmental self-care requisites: DSCR)
เป็นความต้องการที่นำมาใช้ในกระบวนการ พัฒนาการของบุคคลและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบางช่วง
ยกตัวอย่างเช่นเช่น การตั้งครรภ์ และการสูญเสียบุคคลอัน เป็นที่รัก
ความต้องการการดูแลตนเองตามการเบี่ยงเบนทางสุขภาพ (Health deviation self-care requisite: HDSCR)
เป็นความต้องการการดูแตนเองเมื่อบุคคลอยู่ใน ภาวะเจ็บป่วยหรือได้รับอันตราย มีความพิการ หรือความผิดปกติในโครงสร้างการทำหน้าท่ีของร่างกาย
ทฤษฎีความบกพร่องในการดูเเลตนเอง (The theory of self- care deficit)
เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ความสามารถในการดูแลตนเอง (Self-care agency)
ความต้องการการดูแลตนเองท้ังหมด (Therapeutic self-care demand: TSCD)
เป็นการกำหนดว่า เมื่อบุคคลต้องการความช่วยเหลือจากพยาบาล ซึ่งอาจเกิดข้ึนเฉพาะบางส่วนหรือทั้งหมดก็ได้ ถ้า เป็นความพร่องในการดูแลตนเองทั้งหมด แสดงว่าบุคคลน้ันไม่มีความสามารถในการดูแลตนเองได้เลย
ความสัมพันธ์ มี 3 ลักษณะ
ความต้องการที่สมดุล (Demand is equal to abilities: TSCD =SCA)
ความต้องการน้อยกว่าความสามารถ (Demand is less than abilities: TSCD < SCA)
ความต้องการมากกว่าความสามารถ (Demand is greater than abilities: TSCD > SCA)
ทฤษฎีระบบการพยาบาล (The theory of nursing system)
กำหนดรูปแบบการพยาบาลเพื่อช่วยบุคคลให้สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน ในการดูแลสุขภาพด้วย ความสามารถดูแลตนเองหรือบุคคลอื่นอย่างมีประสิทธิภาพสมบูรณ์และต่อเนื่อง
ส่งเสริมให้บุคคล สามารถดูแลตนเอง
ประเมินความต้องการในการดูแลตนเอง ความสามารถในการดูแลตนเอง และความพร่องในการดูแลตนเอง
ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly compensatory nursing system)
เป็นบทบาทของพยาบาลท่ีต้องกระทาเพื่อทดแทนความสามารถของผู้ป่วย โดยการชดเชยให้ทั้งหมด
เป็นการพยาบาลผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ระบบทดแทนบางส่วน (Partly compensatory nursing system)
เป็นระบบการพยาบาลท่ีให้การช่วยเหลือผู้ป่วยโดยข้ึนอยู่กับความต้องการและความสามารถของ ผู้ป่วย เป็นการชดเชยให้บางส่วน โดยให้การพยาบาลเฉพาะสิ่งที่ผู้ป่วยไม่สามารถทำได้
เช่น การช่วย ผู้ป่วยในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น และการร่วมทำกิจกรรมกับผู้อื่น
ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ (Educative supportive nursing system)
เป็นระบบการพยาบาลที่เน้นการให้การศึกษา การสอน และให้
คาแนะนำเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
พยาบาลต้องประเมินความสามารถของบุคคลในการดูแลตนเองและสามารถแยกแยะ ความบกพร่องในการดูแลตนเองของบุคคล
เพื่อสามารถกำหนดวิธีการปฏิบัติการพยาบาลให้ตรง และสนองตอบกับความต้องการของผู้ป่วย โดยการให้ความช่วยเหลือ แนะนำ สอน ให้กำลังใจ และ การจัดสภาพแวดล้อม
สนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว และชุมชนได้ใช้ความสามารถในการดูแลตนเองในการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาทางจิต ดูแลช่วยเหลือตนเองครอบครัวและชุมชนเมื่อเกิดปัญหาทางจิตได้
นางสาว อัจฉรา พาณิชย์กุล 61122230118
เลขที่ 109