Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต, นางสาว ศศิกานต์ โตอ่อน 1A เลขที่67 รหัส 623601068 -…
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
Aneurysm
(หลอดเลือดแดงโป่งพอง)
เป็นเฉพาะที่และเป็นอย่างถาวร
True
การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False
การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
Fusiform aneurysm
การโป่งพองตามแนว axis of vessel
Saccular aneurysm
การโป่งพองตามแนว tangential of axis
Dissecting aneurysm
การโป่งพองที่มีการแยกชั้น intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
สาเหตุ
กิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลง
ทำให้หลอดเลือดโป่งพองออกมา
Congenital
Berry aneurysm
Acquired
Trauma / iatrogenic
Inflammation / infection Syphilis
Degeneration -atherosclerosis
Abdominal Aortic Aneurysm
อาจไม่มีอาการผิดปกติ
คลาชีพจรได้ในท้อง
เจ็บท้องหรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรง
ถาหลอดเลือดใกล้แตก ผู้ป่วยอาจปวดขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
โรคของหลอดเลือดดำ
Varicose vein
มี Bicuspid valve ให้เลือดไหลจาก Superficial ไป Deep
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis
Etiology
Primary varicose vein
เป็นผลมาจาก incompetence ของ one way valve ของ Superficial vein
Secondary varicose vein
เกิดจาก valvularincompetence ของ Perforating vein มักเป็นตามหลัง DVT
Hemorrhoid
Esophageal varices
Endocarditis
มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว (Vegetation)
Non-infective Endocarditis
ไม่พบเชื้อใน vegetation ในผู้ป่วย RHD
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
เกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
เกิดกับหัวใจปกติ
Monckeberg medial sclerosis
พบในหลอดเลือดขนาดกลาง
มี calcification ชั้น Tunica media
Atherosclerosis
ตาแหน่งที่พบบ่อยคือ Abdominal aorta
พบไขมันสะสมใน Tunica intima
เป็นแผ่นนูน (Plaque) สีเหลืองเรียก atheroma
สาเหตุ
เบาหวาน
การสูบบุหรี่
Hypertention
อาหารและภาวะ Hypercholesterolemia
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ oxygenไม่สมดุลกับ oxygenที่ใช้
โรคหัวใจขาดเลือด ST Elevation MI
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และตายเฉียบพลัน
มักเกิดจากมีลิ่มเลือดอุดตัน
การปวด (Angina Pectoris)
เจ็บหรือแน่นหน้าอกเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
อาการรุนแรงมาก เหงื่อออก หมดแรง
หัวใจวาย (Heart attack)
เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร
อาการปวดร้าวไปที่ใหล่แขน/มือซ้าย คอ คาง เป็นชั่วคราว
Rheumatic Heart Disease
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบหรือ ต่อมทอนซิลอักเสบ จากเชื้อ
Beta-hemolytic Streptococcus Group A
ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาทำลายเชื้อ แต่ภูมิต้านทานเหล่านี้กลับมาทาลายตัวเอง
เกิดผังผืดเกาะยึดบริเวณลิ้นหัวใจ (fibrosis)
ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่ (ลิ้นหัวใจตีบ) หรือปิดไม่สนิท (ลิ้นหัวใจรั่ว)
ฺBuerger's disease Thromboangiitis Obliteran (TAO)
ไม่มี atheromas
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
สาเหตุ
การสูบบุหรี่/ได้รับควันบุหรี่
Congenital heart disease
Acyanotic
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกิน
สาเหตุ
เกิดจาก ductus arteriosus ไม่ปิดตามธรรมชาติ ปกติจะปิด10-15ชั่วโมง หลังคลอด
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด หรือติดหัดเยอรมันใน 3เดือนแรกของการตั้งครรภ์
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือด ductus arteriosus ที่เชื่อมระหว่าง aorta และ pulmonary a. เปิดหรือปิดไม่สนิท
Ventricular Septal Defect (VSD)
Interventricular septum บกพร่อง
Atrial Septal Defect (ASD)
Interatrail septum บกพร่อง
Coarctation of aorta
มีการตีบตันของ aorta
Preductaltype
ตีบก่อนถึง ductus arteriosus
Ductal type
ตีบอยู่ตรงส่วนต่อของ Ductus พอดี
Postductaltype
ตีบใต้ต่อ ductus arteriosus
Pulmonary Stenosis
Pulmonic valve ตีบ
Aortic Stenosis
Aortic valve ตีบ
Cyanotic
Tetralogy of fallot (TOF)
Right Ventricular Hypertrophy
Pulmonary Valve Stenosis
Overriding of aorta
Ventricular Septal Defect
Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก RV และ pulmonary a. ออกจาก LV
Pulmonary atresia
Pulmonary valve ตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
Tricuspid atresia
ไม่มีTricucpidvalve ทาให้เลือดเข้าสู่RVไม่ได้
โรคของลิ้นหัวใจ
Stenotic valve
ลิ้นหัวใจแคบลง,แข็ง,หนา,ติดกัน,กีดกั้น
Mitral stenosis
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจ หลังติดเชื้อ Group A Streptococcal pharyngitis
Rheumatic heart disease
Acute rheumatic fever ทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น
Rheumatic carditis
Tricuspid stenosis
Aortic stenosis
พบบ่อย เกิดจากการสะสมของ Ca และเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ
Pulmonic stenosis
Regurgitate valve
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
Rheumatic heart disease
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ หรือ ผิวหนัง
ทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทาน ส่งผลให้มีการทำลายเนื่อเยื่ออื่นๆ รวมทั้งลิ้นหัวใจด้วย
จะมีพังพืดและหินปูนเกาะ ทำให้ลิ้นหัวใจเปิด-ปิดไม่ดีเหมือนปกติ
Degenerative
เกิดจากลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุ เนื่องจากความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพไป
ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป เกิดการเปิด-ปิดที่ไม่สนิท
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
ทำให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อ หัวใจจะอ่อนแรง
Aortic regurgitation
Pulmonary regurgitation
Mitral regurgitation
Tricuspid regurgitation
Rheumatic fever
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลัง
การติดเชื้ออื่นๆ
Bacterial endocarditis
Atherosclerosis
นางสาว ศศิกานต์ โตอ่อน 1A เลขที่67 รหัส 623601068