Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อ, นางสาวอารียา มั่นวงศ์ ปี 2 รหัส 612501107 เลขที่ 103 - Coggle…
โรคติดต่อ
Hepatitis
-
-
การพยาบาล
ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ อ่อนเพลีย และถ้ารุนแรงมากจะทำให้เกิดภาวะตับวายได้ ดังนั้นการพยาบาลที่สำคัญได้แก่ สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนเต็มที่ งดการทำกิจกรรมใดๆดูแลการได้รับอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมันทุกชนิดบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ทางหลอดเลือดตามแผนการรักษาติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อ
Ebola virus disease
การแพร่กระจายเชื้อ
-
อาการ
ระยะฟักตัวประมาณ 2 – 21 วัน ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาจะมีไข้สูงทันทีทันใด อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ และเจ็บคอ ตามด้วยอาการ อาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว (maculopapular rash) ในรายที่มีอาการรุนแรงและเสียชีวิต จะพบมีเลือดออกง่าย โดยเกิดทั้งเลือดออกภายในและภายนอกร่างกาย (internal and external bleeding) มักเกิดร่วมกับภาวะตับถูกทำลาย ไตวาย หรือก่อให้เกิดอาการของระบบประสาทส่วนกลาง ช็อก และเสียชีวิตได้
การรักษา
ไม่มีการรักษาจำเพาะ ในรายที่มีอาการรุนแรงต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด ให้สารนํ้าอย่างเพียงพอ และให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
Human influensa
สาเหตุ
ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด ชนิด แหล่งเชื้อโรค คือ นกน้ำตามธรรมชาติ A,B,C ระยะฟักตัวของโรค 1- 4 วัน หลังรับเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่
อาการ
โดยทั่วไปของโรคไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้ ไอ น้ำมูก บางคนมีอาการเจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย อาการส่วนใหญ่จะไม่รุนแรง เป็นอยู่ประมาณ 3-5 วัน ซึ่งบางครั้งจะคล้ายโรคไข้หวัดธรรมดา แต่ท้ายที่สุด อาการก็จะหายไปเองได้ มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ที่จะมีอาการรุนแรง
การรักษา
1.ให้ยาต้าน Antiviral treatment ให้ภายใน 48 ชั่วโมงแรกของอาการป่วย ให้ในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง ได้แก่ โรคหัวใจ ปอด หอบหืด ตั้งครรภ์ไตรมาส 2,3 HIV เด็กอายุครบน้อยกว่า 2 ปี เมตาบอลิกเรื้อรัง ได้รับการรักษาด้วย Aspirin
2.ยาต้านมี 2 กลุ่ม กลุ่ม 1 amantadine และ Rimantadin ยับยั้งการแบ่งตัวของ cell ชนิด A กลุ่ม 2 Neuraminidase inhibitor คือ Oseltamivia (Tamiflu) และ Zanamivia (Relenza)
Avian influenza
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้ออ่อนเพลียมีน้ำมูกไอและเจ็บคอบางครั้งพบว่ามีอาการตาแดง ระยะฟักตัวในคนสั้น ประมาณ 1 ถึง 3 วัน
ยาที่ใช้รักษา
Oseltamivir [tamiflu]
Zannamivir[Relenza]
เป็นยาที่จะช่วยบรรเทาอาการของโรคแต่ต้องให้ยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ
วิธีป้องกันการระบาด
1.กำจัดแหล่งแพร่เชื้ออย่างรีบด่วน
2.ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์
3.คนที่สัมผัสไก่ที่เป็นโรคและมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส
4.ผู้ที่ทำลายไก่ต้องสวมชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ
5.ต้องมีระบบคัดกรองผู้ที่สงสัยว่าจะเป็นไข้หวัดนก ออกจากผู้ป่วยอื่นทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน
6.ผู้ป่วยที่มีอาการไอหรือจาม ต้องใช้ Tissue ปิดปากและจมูก
7.จัดให้มี Alcohol สำหรับเช็ดมือ
8.แยกผู้ป่วยที่มีอาการไอออกจากผู้อื่นอย่างน้อย 3 ฟุต
SARS
สาเหตุ
-
ระยะฟักตัวของโรค
-
การติดต่อ
-
อาการ
ไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดศีรษะมาก หนาวสั่น เจ็บคอ ไอแห้ง ๆ ปอดบวมอักเสบ หายใจลำบาก
การรักษา
เมื่อรับผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลการสั่งยารักษา ให้สั่งยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อ community-acquired pneumonia จนกว่าจะวินิจฉัยแยกโรค Acute Respiratory Distress Syndrome ได้ การใช้ยาไรบาวิริน (Ribavirin) ตัวเดียวหรือใช้ร่วมกับสเตียรอยด์ ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ประสิทธิภาพที่ชัดเจน แต่พบว่ามีผลข้างเคียงมาก จึงเสนอให้มีการร่วมมือกันจากหลายหน่วยงานเพื่อทดสอบยาตัวนี้ ตลอดจนการหาวิธีอื่นในการรักษาโรคนี้
MERS-CoV
ระยะฟักตัว
มีระยะฟักตัวตั้งแต่ 2 – 14 วัน ดังนั้นหากผู้ป่วยเริ่มมีอาการไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียส ไอ หอบ หายใจเร็ว และภายใน 14 วันก่อนหน้ามีประวัติเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค
อาการ
การรักษา
1.การให้ยาต้านไวรัส
2.การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ
3.การรักษาตามอาการ ให้ supplemental oxygen therapyโดยเฉพาะผู้ป่วยที่ SpO2 < ร้อยละ 90 เริ่มโดย การจากให้อ็อกซิเจน 5 ลิตรต่อนาที และปรับขนาดตามอาการของผู้ป่วย จนระดับ SpO2 ≥ ร้อยละ 90 ในคนทั่วไป และ SpO2 ≥ ร้อยละ 92-95 ในหญิงตั้งครรภ์
การป้องกัน
1.หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ จาม หรือโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เฉียบพลัน
2.ควรล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำและสบู่
3.หลีกเลี่ยง การเข้าไปในพื้นที่ แออัด หรือที่ สาธารณะที่มีคนอยู่จำนวนมาก
4.แนะนำให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปิดจมูกเวลาไอหรือจาม
5.ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
ไข้สูง อาการไอ หายใจหอบมากกว่า 28 ครั้ง Oxygen saturation น้อยกว่า 90 และอาจเกิดภาวะปอดอักเสบ ไตวายทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันอย่างรุนแรง (ARDS) จนทำให้เสียชีวิตในที่สุด
Covid-19
สาเหตุ
อาการ
จะมีระยะฟักตัว 2-14 วัน สามารถแพร่กระจายเชื้อได้ แม้ไม่แสดงอาการอาการเริ่มแรกคือ มีไข้ ตามมาด้วยอาการไอแห้ง ๆ หลังจากนั้นราว 1 สัปดาห์จะมีปัญหาหายใจติดขัด ผู้ป่วยอาการหนักจะมีอาการปอดบวมอักเสบร่วมด้วย หากอาการรุนแรงมากอาจทำให้อวัยวะภายในล้มเหลว หากผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงการระบาดของโรคมีอาการไข้ ร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก หายใจเหนื่อยหอบ ควรรีบพบแพทย์ทันที
การป้องกัน
1.เชื้อไวรัสนี้ติดต่อผ่านทางลมหายใจ สารคัดหลั่ง เช่น น้ำมูก น้ำลาย ควรใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกัน
2.ติดต่อในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว ควรทานแบบสุกเท่านั้น
3.ควรทานอาหารที่สุกแล้ว งดอาหารดิบ และเนื้อสัตว์ป่า
4.หมั่นล้างมือหรือเช็ดด้วยแอลกอฮอล์
5.ไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยที่ไอ จาม
6.หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด และมีมลภาวะเป็นพิษ
7.งดเดินทางไปยังพื้นที่เสี่ยงโรคระบาด
8.ไม่นำมือมาสัมผัสตา จมูก ปาก ถ้าไม่จำเป็น
9.ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่น เช่น ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้ำ ฯลฯ
ขณะนี้ยังไม่มีใครทราบชัดเจนถึงแหล่งกำเนิดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ก่อนหน้านี้มีการสันนิษฐานว่า ไวรัสชนิดนี้อาจเริ่มติดต่อจากสัตว์ป่ามาสู่คน โดยมีต้นตอของการแพร่ระบาดจากงูเห่าจีน (Chinese cobra) และงูสามเหลี่ยมจีน (Chinese krait) ที่นำมาวางจำหน่ายในตลาดสดเมืองอู่ฮั่น ซึ่งเป็นสถานที่พบผู้ติดเชื้อกลุ่มแรก ๆ
-