Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจ หลอดเลือด และระบบทางเดินอาหาร,…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจ หลอดเลือด และระบบทางเดินอาหาร
อาการเจ็บเค้นอก (Angina)
ประกอบด้วย
อาการเจ็บแน่น อึดอัดบริเวณหน้าอก
ปวดเมื่อย หัวไหล่ ปวดกราม
จุกบริเวณลิ้นปี่
เป็นมากขณะออกกำลังกาย
อาการเจ็บหนักๆเหมือนมีอะไรทับ หรือรัดบริเวณกลางหน้าอกใต้กระดูก Sternum นั่งพักหรืออมยา nitroglycerin ทุเลาลง
การวินิจฉัยโรค
ซักประวัติในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกที่มีลักษณะเฉพาะ
วินิจฉัยแยกโรค
คำนึงถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
Pt ที่คลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดง ST elevation ชัดเจนไม่ต้องรอผล cardiac enzyme ให้รีบรักษาอย่างรวดเร็ว
อมยาใต้ลิ้นไม่ได้ผล
มีอาการเจ็บเค้นอกเพิ่มขึ้น
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ
การพยาบาล
นอนพักที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
ให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจมO2 saturation.วัดสัญญาณชีพ
ให้ Aspirin gr V (325 mg) เคี้ยวแล้วกลืน
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น ถ้าความดันซิสโตลิก > 90 mmHg ให้ซ้ำได้ทุก 5 นาที (สูงสุด 3 เม็ด)
ถ้า Pt เคยได้รับยา ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ตามความเหมาะสม
หากอาการปวดยังไม่ดีขึ้น หลังได้ยาอมใต้ลิ้น พิจารณาให้มอร์ฟีน
เตรียมความพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อน นำส่งโรงพยาบาลทันที
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease,IHD),โรคหลอดเลือดแดง โคโรนารี (Coronary artery disease,CAD)
คือ โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตัน ส่วนใหญ่เกิดจากไขมัน และเนื้อเยื่อสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด
อาการ
เจ็บเค้นอก ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม หมดสติหรือเสียชีวิต
ภาวะเจ็บอกคงที่ (Stable angina)
คือ กลุ่มอาการที่เกิดจากโรคหัวใจขาดเลือดเรื้อรัง (Chronic ischemic heart disease)
มีอาการเจ็บเค้นอกเป็นๆหายๆอาการไม่รุนแรง ครั้งละ 3-5 นาที
หายโดยการพัก อมยาขยายเส้นเลือดหัวใจ เป็นมานานกว่า 2เดือน
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome,ACS)
กลุ่มอาการโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน
อาการ เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน เจ็บขณะพัก นานกว่า 20 นาที
ST elevation acute coronary syndrome
คือ ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ST segment ยกขึ้น อย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกัน
หากไม่ได้รับการเปิดเส้น เกิด Acute ST elevation myocardial infarction
Non ST elevation acute coronary syndrome
คือ ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ชนิดไม่พบ ST segmant elevation
คลื่นหัวใจเป็น ST segment depression,T wave inversion
หากมีอาการเกิน 30 นาที อาจเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
ถ้าไม่รุนแรง ภาวะเจ็บเค้นอกไม่คงที่
บทบาทพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลระยะวิกฤติ
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
O:Onset ระยะเวลาที่เกิด
P: Precipitate cause สาเหตุชักนำการทุเลา
Q:Quality ลักษณะ อาการเจ็บอก
R: Refer pain สำหรับอาการเจ็บร้าว
S: Severity ความรุนแรงอาการเจ็บแน่นอก
T:Time ระยะเวลาที่เป็น
ประสานงาน
ให้การดูแลแบบ ACS fast track
ให้ออกซิเจน
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
เฝ้าระวังอาการ อาการแสดง cardiac arrest
กรณี EKG show ST elevation ,พบ LBBB ที่เกิดใหม่
แพทย์จะเลือกวิธี Primary PCL อันดับแรก สามารถทำได้ 48 hr
กรณีไม่มี PCI center พิจารณา refer ไปสถานพยาบาลที่พร้อม
ถ้าระยะเวลาในการเคลื่อนย้ายนานกว่า 120 นาที ไม่แนะนำ
แต่จะพิจารณาให้ fibrinolysisi drug ภายใน 10 นาที
พยาบาลประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษา Pt ให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
Pulmonory embolism (PE)
กลไก
การไหลเวียนของเลือดลดลงเกิดจการ่างกายไม่เคลื่อนไหว เป็นเวลานาน
มีความผิดปกติของเลือด ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
มีผนังหลอดเลือดดำที่ผิดปกติเกิดจากมี Local trauma หรือมีการอักเสบ
เลือดดำไม่สามารถแลกเปลี่ยนกีาซออกซิเจน
หากก้อนลิ่มเลือดมีขนาดใหญ่ทำให้เพิ่มขึ้นของแรงเสียดทานในหลอดเลือดปอด
ผลดังกล่าวร่วมกับปริมาณเลือดที่ผ่านเนื้อปอดมาสู่หัวใจห้องซ้ายก็ลดลง ทำให้ Cardiac output ลดลง
อาการ
หายใจเหนื่อยหอบมากอย่างกะทันหัน
ใจสั่น แน่นหน้าอก (pleuritic pain)
บางรายหน้ามืดเป็นลม หมดสติ
ตรวจร่างกาย
Pt มักหายใจเร็ว hypoxemia หัวใจเต้นเร็ว มีหลอดลือดดำที่คอโป่งพอง
massive PE ผู้ป่วยจะตัวเย็น มีความดันต่ำ ช็อก ร่วมกับเขียวคล้ำ
ในรายที่สงสัย PE ควรดูขาหรือน้องบวม ปวด พบว่ามี deep vein thrombosis จะสนับสนุนว่าเป็น PE มากขึ้น
แนวทางวินิจฉัยและส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ใช้ wells scoring system ถ้าคะแนนากกว่า 6 ขึ้นไป โอกาสจะเป็น PE สูงมาก
ถ่ายภาพรังสีทรวงอก (X-ray)
อาจพบเนื้อปอดบางบริเวณ มีปริมาณหลอดเลือดลดลง
เห็น infiltration ที่บริเวณปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
หัวใจเต้นเร็ว (sinus tachycardia)
deep S-wave ใน lead l และมี Q-wave และ T-inversion ใน lead lll พบได้บ่อย
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
right ventricular dysfunction
ลิ้นหัวใจไตรคัสปิดรั่ว (tricuspud regurgitation)
ตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง
hypoxemia ร่วมกับ hypocapnia
การรักษา
Anticoagulation
ให้ heparin ในหลอดเลือดดำ และให้ยา Coumadin ประมาณ 3 m
Thrombolytic therapy
Cavel filter
การบาดเจ็บช่องท้อง
สิ่งสำคัญ ภาวะเลือดออกในช่องท้อง ช่องอุ้มเชิงกราน
ผู้ป่วยควรระมัดระวังเลือดออกในช่องท้อง
Brain injury
Spinal cord injury
การบาดเจ็บ Ribs,Spine,Pelvic
สาเหตุ
Blunt abdominal injury
จากรถชน หรือตกจากที่สูง
พบได้บ่อย การบาดเจ็บตับ ม้าม
การบาดเจ็บที่เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผล
Gun short wound
ส่วนใหญ่ต้องได้รับการผ่าตัด
Stab wound
วัตถุคาอยู่อย่าดึงออก
อาการและอาการแสดง
อาการปวด
การฉีกขาดของผนังหน้าท้อง
อวัยวะภายในได้รับอันตราย
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งกล้ามเนื้อท้อง
ท้องอืดตึง
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวลำไส้
ภาวะฉุกเฉิน Blunt abdominal trauma
แบ่งตามความรุนแรง
อาการหนักมาก Shock ท้องอืด เลือดออก ต้องได้รับการผ่าตัดทันที
สัญญาณชีพคงที่ แต่กดเจ็บที่ท้อง ท้องอืด ตรวจเพิ่ม
สัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการชัดเจน
ภาวะเลือดออก
ปริมาณสารเหลวในระบบไหลเวียนเลือดลดลง
เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง
Hypovolemic shock ใน BAT
สาเหตุเกิดจากเสียเลือดเกินร้อยละ 20-30
เนื้อเยื่อต่างๆ ไต สมอง หัวใจ ลำไส้ขาดเลือด
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดการบวมของเซลล์
เซลล์ขาดออกซิเจน
เนื้อเยื่อต่างๆขาดเลือด
ภาวะฉีกขาดทะลุ
เกิดการปนเปื้อนของสิ่งที่อยู่ในช่องท้อง
เกิดการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง (Peritonitis)
ปวดรุนแรงมาก ปวดทั่วท้อง
รุนแรงมาก Shock เกิด Organ failure
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
ประเมินผู้ป่วย
A.Airway ให้ระลึกเสมอว่า Pt มีการบาดเจ็บรุนแรงให้เสมือนว่ามีการบาดเจ็บของ C-spine ไว้ก่อน
B.Breathing ดูภาวะ Apnea ภาวะupper airway obstruction
C.Circulation ควมคุม external hemorrhage โดยกดบริเวณที่เลือดออก
D.Disability ประเมิน neurological status
E.Exposure ถอดเสื้อผ้า Pt เพื่อหาร่องรอยบาดแผล
Resuscitation
Secondary survey
Definitive care
ดูแลทางเดินหายใจ
ประเมินว่า Pt ได้รับอากาศเพียงพอ
ต้องควบคุมความอิ่มตัวของออกซิเจนให้มากกว่า 90%
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
หายใจเอง ออกซิเจน 8-9 ลิตร/นาที
ไม่หายใจเอง รีบรายงายแพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจ
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ ส่ง Pt ไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
ดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
ใส่สายสวนปัสสาวะ ปัสสาวะไม่ควรน้อยกว่า 0.5-1 ซีซี/น้ำหนักตัว1kg/hr
บรรเทาความเจ็บปวด
ลดความวิตกกังวลของ Pt และครอบครัว
การเฝ้าระวัง
การประเมินซ้ำ เพื่อดูการตอบสนองของการรักษา
นางสาวจิรนันท์ ใฝ่จิตร 6001210767 Sec.B เลขที่ 32