Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ, น.ส.จิรประภา…
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกและข้อ
ผู้ป่วยที่กระดูกหักร่วมกับอาการบวม ปวดมาก ต้องพึงระวังภาวะ Compartment syndromeร่วมด้วย หากได้รับการช่วยเหลือช้าอาจทำให้เกิดความพิการได
ผู้ป่วยที่มีกระดูกหัก Multiple long bone fracture มีโอกาสเกิดภาวะ Pulmonaryembolism และเสียชีวิตได้
ผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูก Pelvic fracture และ Open fracture ต้องระวังเรื่องการเสียเลือดจนอาจทำให้เกิด Hypovolemic shock ได้
สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ จากอุบัติเหตุจราจร จากการทำงาน จากการเล่นกีฬา มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บอื่น เช่น การบาดเจ็บช่องอกช่องท้อง การบาดเจ็บศีรษะ
Secondary survey
การตรวจร่างกาย
การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test ใช้ระยะเวลาสั้นๆ เมื่อพบผู้ป่วยตอนแรก ในผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวดี
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง โดยให้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternumแล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน ,การตรวจกระดูกเชิงกรานให้ออกแรงกดบริเวณ anterior superior iliac spine ทั้งสองข้างพร้อมกันในแนว Anterior-posterior แล้วบีบด้านข้างเข้าหากัน และกดบริเวณ Pubic symphysis
กระดูกสันหลัง กระดูกสันหลังส่วนคอให้ผู้ป่วยยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวัง ในท่านอนหงาย แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงาย
พลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง ใช้มือคลำตามแนวกระดูกสันหลังตลอดแนว
กระดูกแขนขา โดยให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสองข้าง
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
หากกรดูหักจะพบ
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
Crepitus
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
การซักประวัติ จากผู้ป่วย ผู้นำส่ง ผู้ประสบเหตุ
ระยะเวลา เช่น Open fracture ที่นานกว่า 8 ชั่วโมง
บาดแผลจะกลายเป็น Infected wound
สถานที่
สาเหตุการเกิด
การรักษาเบื้องต้น เช่น การใส่ Splint การใส่ traction การรับยาปฏิชีวนะ
Primary survey และ Resuscitation
ในผู้ป่วยที่กระดูกผิดรูป หรือ fracture ให้ทำการ splint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด และพิจารณาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ และออกซิเจนด้วย
พยาบาลควรทำการ Immobilization
เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ แล้วลดการขยับเลือนโดยการ Splint กระดูกส่วนที่หัก โดยใส่ Splint ให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหัก
ปัญหาสำคัญคือการเสียเลือดจากการบาดเจ็บ และ
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock ได้ การ Control bleeding ดีที่สุดคือ Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
ให้ทำการ Splint ให้ปวดน้อยที่สุด
Definitive care
Retention เป็นการประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่จากการจัดกระดูกเข้าที่แล้วและรอให้กระดูกติดตามธรรมชาติ ที่ใช้บ่อยได้แก่ Casting Traction Internal fixation External fixation
Immobilization เป็นสิ่งสำคัญในผู้ป่วยกระดูกหัก เป็นการประคับประคองให้กระดูกมีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด เพื่อลดการบาดเจ็บเพิ่มเติมต่อ soft tissue ทำให้ผู้ป่วยมีการเจ็บปวดลดลง และลดการสูญเสียเลือด โดยทำการประคองปลายทั้งสองด้านของกระดูกที่หักให้นิ่งที่สุด
Rehabilitation เป็นการฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ รวมทั้งการฟื้นฟูดูแลจิตใจผู้ป่วยให้สามารถกลับมาเป็นปกติ
Reduction เป็นการจัดกระดูกให้เข้าที่ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด ทำในกรณีกระดูกหักแบบมีการเคลื่อนของกระดูก (Displaced
fracture) แต่จะไม่จัดกระดูกใน Impacted fracture เพราะอาจทำให้กระดูกที่อัดเข้าหากันเคลื่อนหลุดกลายเป็น Displaced fracture ได้
การจัดกระดูกมีแบบ Close reduction และ Open reduction
Reconstruction เป็นการแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บหรือภาวะแทรกซ้อนให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Recognition เป็นการตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น
Refer เป็นการส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ผู้ป่วย Pelvic fracture ร่วมกับภาวะ
Hypovolemic shock ต้องคำนึงถึงภาวะ unstable pelvic fracture
การตรวจร่างกาย
การเคลื่อนไหว จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น เนื่องจากถูกกล้ามเนื้อดึงขึ้นข้างบน และหมุนออกด้านนอกจากแรงโน้มถ่วงของโลก ตรวจดู Sacral nerve root และ Plexus
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่ำ
คลำ พบกระดูก Pelvic แตก PR examination พบ high-riding prostate gland และมีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย โดยการส่ง film pelvic AP view
ดู จะพบ Progressive flank พบ Scrotum และ Perineum บวม มีแผลฉีกขาดบริเวณPerineum และ Pelvic
การช่วยเหลือเบื้องต้น ได้แก่การ Control bleeding โดยการทำ Stabilization pelvic ring จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation อาจต้อง consult แพทย์ศัลยกรรมเฉพาะทางในกรณีที่ผู้ป่วยยังมี Hemodynamic abnormality
Major Arterial Hemorrhage
ได้แก่การฉีกขาดของหลอดเลือด อาจเป็นการบาดเจ็บแบบ
Blunt trauma หรือ Penetrating wound ทำให้มีการเสียเลือดจำนวนมากและเกิด Hypovolemic shock
การบาดเจ็บหลอดเลือดแดงเรียกว่า Hard signs ได้แก่ Pulsatile bleedingบริเวณบาดแผล hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น คลำได้thrill ฟังได้bruit และ 6Ps ได้แก่ Pain, Pallor, Poikilothermia, Paresthesia, Paralysis, Pulselessness
การช่วยเหลือเบื้องต้น - พยาบาลควรทำ Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด และFluid resuscitation ในรายที่กระดูกผิดรูปให้ทำการจัดกระดูกให้เข้าที่แล้วทำการ Splint
Crush Syndrome
อาการที่พบ ได้แก่ Dark urine, พบ Hemoglobin ได้ผลบวก เมื่อเกิดภาวะRhabdomyolysis ผู้ป่วยจะมีอาการของ Hypovolemia, Metabolic acidosis, Hyperkalemia, Hypocalcemia และ DIC ได้
การช่วยเหลือเบื้องต้น - เมื่อวินิจฉัยได้จะให้ Fluid resuscitation ให้ Osmotic diuretic เพื่อรักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow แพทย์จะพิจารณาให้ Sodium bicarbonate เพื่อช่วยลด Myoglobin ที่ไปทำลาย Tubular system ในระหว่างการให้สารน้ำและยาจะประเมิน Urine output ให้ได้ 100 cc./ชั่วโมง จนกว่าปัสสาวะจะใส (clear myoglobinuria)
เป็นภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อ
บริเวณ thigh และ calf muscle ทำให้เซลกล้ามเนื้อขาดเลือดและตายแล้วปล่อย Myoglobin เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
น.ส.จิรประภา เจริญเจ้าสกุล 6001211061 เลขที่ 46 sec B