Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร, ต้องช่วยเหลือป้องกันภาวะช็อ…
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บช่องท้องสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Blunt injury หรือการบาดเจ็บที่เกิดจากแรงกระแทก เกิดจากอุบัติเหตุรถชน หรือตกจากที่สูง
อวัยวะที่พบได้บ่อยได้แก่ การบาดเจ็บของตับ ม้าม
มักเกิดการบาดเจ็บหลายแห่งร่วมกัน (multiple injuries)เช่นการบาดเจ็บทรวงอก ศีรษะ แขนขา เป็นต้น
Penetrating trauma หรือการบาดเจ็บที่เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผล
Gun short wound ส่วนใหญ่ต้องรับการผ่าตัดหากบาดแผลอยู่ใกล้ทรวงอกหรือบาดเจ็บร่วมกับทรวงอก
ที่มีบาดแผลบริเวณหลังอาจทำการวินิจฉัยก่อนผ่าตัด Stab wound หากพบคาอยู่อย่าดึงออก พบว่า 1/3 ถูกแทงแต่ไม่ทะลุ peritoneum 2/3 เกิดอาการแทงทะลุ peritoneumพบว่าลำไส้เล็กได้รับบาดเจ็บมากที่สุด รองลงมาคือตับและลำไส้ใหญ
ลักษณะและอาการแสดงของการได้รับบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
อาการท้องอืด เป็นอาการบ่งบอกถึงการได้รับบาดเจ็บของ ตับ ม้าม และเส้นเลือดใหญ่ในท้อง
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะช็อก ที่ไม่เห็นร่องรอยของการเสียเลือด เมื่อการช่วยเหลือไม่ดีขึ้นให้คำนึงถึงการตกเลือดในอวัยวะภายในช่องท้อง
อาการปวด
ปวดจากการฉีกขาดของผนัง
หน้าท้อง
อวัยวะภายในได้รับอันตราย เช่นการปวดจาก ตับ ม้ามฉีกขาดจะปวดท้องช่วงบน กดเจ็บและร้าวไปที่ไหล่
ภาวะฉุกเฉินผู้ป่วย Blunt abdominal trauma
ภาวะเลือดออก - เกิดการเสียเลือดเป็นผลมาจากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน ได้แก่ กระบังลม กระเพาะอาหาร ลำไส้
เล็ก ลำไส้ใหญ่หลอดเลือด ทำให้ปริมาณสารเหลวในระบบไหลเวียนลดลง ทำให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง ,Hypovolemic shock
ความรุนแรงออกเป็น 3 ระดับ
ผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพคงที่ แต่มีอาการแสดงของการบาดเจ็บช่องท้อง ได้แก่ กดเจ็บที่ท้องกล้ามเนื้อหน้าท้องหดเกร็ง ท้องอืด
ผู้ป่วยที่สัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการของการบาดเจ็บที่ช่องท้องชัดเจน มักจะมีปัญหาในการวินิจฉัยว่ามีการบาดเจ็บที่ช่องท้องหรือไม่
ผู้ป่วยที่มีอาการหนักมาก Shock ท้องอืด มีเลือดออกในช่องท้องจำนวนมาก ต้องได้รับการผ่าตัดทันที
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate) อวัยวะที่เป็นโพรงและเกิดการปนเปื้อนของสิ่งที่อยู่ในช่องท้อง - ได้แก่การบาดเจ็บหลอดอาหาร การบาดเจ็บของกระเพาะอาหาร การบาดเจ็บของลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่
ในกลุ่มนี้ทำให้มีการรั่วของอาหาร น้ำย่อยเข้าไปในช่องท้องเกิดภาวะการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง ทำให้เกิดการอักเสบทั่วช่องท้อง เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายระบบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บช่องท้อง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผู้บาดเจ็บ Blunt abdominaltrauma ที่อาจเกิดภาวะช็อกได้ ต้องรีบให้
ออกซิเจนอย่างเพียงพอทันที ต้องควบคุมความอิ่มตัวของออกซิเจนให้มากกว่า 90%
ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ ไม่มีการอุดตันของทางเดินหายใจ
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
ใส่สายสวนปัสสาวะ และติดตามบันทึกจำนวนปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง โดยจำนวนปัสสาวะไม่ควรน้อยกว่า 0.5 - 1 ซีซี/นำหนักตัว 1 กก. /ชั่วโมง
ประเมินภาวะเลือดออก
ให้ Lactate ringer หรือ 5%D/N/2
ใส่NG Tube บันทึก สี ลักษณะ จำนวน
ดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ
เจาะเลือดส่งตรวจหาค่าฮีโมโกลบิน ฮีมาโตรคริต
จำนวนเม็ดเลือดแดง เกร็ดเลือด และหมู่เลือด
การบรรเทาความเจ็บปวดโดยวิธีการใช้ยาตามแผนการรักษาและวิธีการไม่ใช้ยา
ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัว
การเฝ้าระวัง - การประเมินเบื้องต้นคือ ระบบ
ประสาท กลางได้แก่ระดับความรู้สึกตัว ระบบผิวหนังและเยื่อเมือก ระบบสูบฉีดโลหิตและไต
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง
การประเมินผู้ป่วย
2) Resuscitation เป็นการแก้ไขภาวะ immediate life threatening conditions
3) Secondary survey เป็นการตรวจอย่างละเอียด (head to toe)
1) Primary survey
C. Circulation with hemorrhagic control เป็นการประเมินการเสียเลือด
D. Disability: Neurologic status คือการประเมิน neurological status
B. Breathing and ventilation โดยดูภาวะ Apnea ภาวะupper airway obstruction
E. Exposure/ Environment control คือการถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วยเพื่อตรวจหาร่องรอยบาดแผลที่ชัดเจน
A. Airway maintenance with Cervical Spine control
4) Definitive care เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้วก็เป็นการรักษาที่เหมาะสม อาจนำผู้ป่วยไปผ่าตัดหรือเพียงแค่ Medication แล้วแต่พยาธิสภาพ
บาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บบริเวณฝีเย็บ
มักมีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะประกอบด้วย ไต หลอด
ไต กระเพาะปัสสาวะ และหลอดปัสสาวะ
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากการกระแทกและมีอาการปัสสาวะเป็นเลือด
การบาดเจ็บส่วนบนและส่วนล่าง
สาเหตุมักเกิดจากถูกยิง ถูกแทง ถูกเตะ ถูกต่อย รถชน
ต้องช่วยเหลือป้องกันภาวะช็อกอย่างเร่งด่วน
น.ส.จิรประภา เจริญเจ้าสกุล 6001211061
เลขที่ 46 sec B