Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลทารกแรกเกิดทันทีที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพบาดเจ็บจากการค…
กระบวนการพยาบาลทารกแรกเกิดทันทีที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
การบาดเจ็บของระบบประสาท
Neonatal Brachial Plexus Injury
ภายใน 12 เดือนหลังคลอด
การบาดเจ็บของ Brachial plexus
Erb
การบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C5 C6
ทารกอยู่ในท่าแขนเหยียดตรง ข้อมือและนิ้วมืองอ
Klumpke paralysis
เกิดจากการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C8 และ T1
มือทารกข้างทีบาดเจ็บไม่มีแรง
Total brachial paralysis
มีการบาดเจ็บของเส้นประสาทที่ประกอบเป็น brachial plexus
ทั้งมือและเเขนของทารกอ่อนแรง
การบาดเจ็บของเส้นประสาทของใบหน้า
0.1-0.7 % เกิจากเส้นประสาทคู่ที่ 7 (Facail nerve) ถูกกด
อาจเกิดร่วมกับการคลอดโดยการใช้คีม
ทารกเคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวกับที่มีการบาดเจ็บ
หนังตาปิดไม่สนิท
ไม่สามารถใช้กล้ามเนื้อส่วนล่างได้
หายได้เอง 2-3 วันจนไม่เกิน 2 สัปดาห์
การบาดเจ็บของ Phrenic nerve
มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของ Brachial plexus
ทารกหายใจลำบาก
เสียงหายใจลดลง
มักพบอาการตั้งแต่แรกคลอด
การบาดเจ็บของ Laryngeal nerve
อาจทำให้เกิด paralysis ของเส้นเสียง
ทารกหายใจลำบาก
เสียงแหบ
ร้องเบา
ไม่มีเสียงร้อง
กลืนลำบากและสำลัก
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Subgaleal hemorrhage
มีเลือดออกคั่งอยู่ใน subgaleal space จากการฉีกของเส้นเลือด
เลือดออกในสมอง (Intracranail hemorrhage)
Subdural hemorrhage
พบในทารกคลอดครบกำหนด
พบอาการหลังคลอด 24-48 ชม.
Epidural hemorrhage
มักพบร่วมกับมีการแตกของกะโหลกศีรษะ
Subarachnoid hemorrhage
มักแสดงอาการหลังคลอด 24-48 ชม.
Intraventricular hemorrhage
รุนแรงที่สุด
เกิดจากการขาดเลือด ขาดออกซิเจนขั้นรุนแรงขณะคลอด
Cephalhematoma
เกิดการฉีกขาดของเส้นใต้ชั้น periostreum
มีเลือดออกใต้ต่อ periostreum
คลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน
อยู่บนกระดูกชิ้นเดียว ไม่ข้าม suture lines
มักทำให้เสียเลือดเพียงเล็กน้อย อาจทำให้เกิดภาวะซีดหรือตัวหลืองได้
กะโหลกศีรษะแตก
พบในทารกที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด
Caput succedaneum
การบวมบริเวณศีรษะเหนือ periotreum
บวมจึงอาจข้าม suture lines
บริเวณที่บวมคลำขอบได้ไม่ชัดเจน
มักพบแรกคลอดและมีขนาดเล็กลง
หายไปเองภายในเวลาเป็นชั่วโมง หรือ 2-3 วัน
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดท่าก้นทางช่องคลอด
ทารกมีขนาดใหญ่
การบาดเจ็บบริเวณใบหน้า
การบาดเจ็บของจมูก
รุนแรง ทำให้ทารกหายใจลำบาก
รุนแรง ทำให้ทารกหายใจลำบาก
Subconjunctival hemorrhage
หนังตาบวม
มักหายได้เองในเวลา 1-5 วัน
มักหายในเวลา 1-2 สัปดาห์
Retinal hemorrhage
Hyphema
Lacrimal
Lacrimal grand
การบาดเจ็บของ Soft tissue
Subcutaneous of necrosis
เกิดจากกา่รฉีกขาดเลือดของเนื้อเยื่อไขมันบริเวณที่พบบ่อยคือไหล่และก้น
บาดแผลฉีกขาด
การผ่าห้องคลอด ที่ต้องผ่าตัดทำคลอดอย่างรวดเร็ว
ฺBruising and petechiae
ผิวหนังบวมช้ำและมีเลือดออก
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกไหปลาร้าหัก
มักสัมพันธ์กับการคลอดยาก
กระดูกต้นแขนหัก
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดติดไหล่
ทารกมีขนาดใหญ่
การคลอดท่าก้น
การผ่าตัดในรายที่ทารกไม่มีศีรษะเป็นส่วนนำ
ทารกมีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์
กระดูกต้นขาหัก
มักพบในรายคลอดท่าก้นทางช่องคลอด
การหักของกระดูกอื่นๆ
กระดูกจมูก
กระดูกขากรรไกร
กระดูกใบหน้า
Septal cartilarge
ทารกหายใจลำบาก
มีปัํญหาการดูดนม
การหลุดของข้อต่อ
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติตั้งแต่อยู่ในครรภ์
จากภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ Sternocleidomastiod
จากการฉีกขาดของกล้ามเนื้อหรือเยื่อหุ้มของกล้ามเนื้อSternocleidomastiod ขณะทำคลอดท่าก้น
เกิดภาวะคอเอียง (Torticollis)