Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน ระบบโครงสร้างกล้ามเนื้ออ และ ผู้ป่วยจมน้ำ,…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
ระบบโครงสร้างกล้ามเนื้ออ
และ
ผู้ป่วยจมน้ำ
ระบบโครงสร้างกล้ามเนื้อ
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
การทำงาน
การเล่นกีฬา
Pelvic fracture และ open fracture
ระวังhypovolemic shock
กระดูกหักร่วมกับปวดมาก
ระวังภาวะcompartment syndrome
Multiple long bone fracture
มีโอกาสเกิดPE
primar surveyและresuscitation
กระดูหักผิดรูป
Splintให้เหมาะสม
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ให้ออกซิเจน
บาดเจ็บกระดูกและข้อ
Immobilizationจัดให้อยู่ตน.ปกติ
splintให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างตำแหน่งที่กระดูกหัก
Secondary survey
ซักประวัติ
สาเหตุการเกิด
ระยะเวลา
สถานที่
การรักษาเบื้อต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจและรักษาlift threatening and resuscitation
ตรวจคร่าวๆเพื่อ screening test
การตรวจอย่างละเอียด
X-ray
Anterior-Posterior
ครอบคลุมกระดูกหักรวมส่วนข้อปลาย
กระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
Recognition
ตรวจประเมินกระดูกที่หัก
Reduction
จัดกระดูกให้เข้าที่(โดยแพทย์)
Retension
Immobilizationประคับประคองให้เคลื่อนไหวน้อยที่สุด
Rehabilitation
ภาวะคุกคามต่อชีวิต
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
Unstable pelvic fracture
การฉีกขาดอวัยวะภายใน
การบาดเจ็บของเส้นประสาท
การบาดเจ็บUrethra,bladder
ตรวจร่างกาย
scrotum and pritoniumบวม
มีแผลฉีกขาดบริเวณPeriniumและPelvic
Progressive flank
กระดูกPelvic แตก
High-riding prostate gland
เลือดออกUrethra meatus
ขาที่ผิดปกติจะสั้น
ฺBPต่ำ
การช่วยเหลือเบื้องต้น
control bleeding
stabilization pelvic ring
fluid resuscitation
consultแพทย์ศัลยกรรม
กรณี Pt.hemodynamic abnormality
Major arterial hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด
Hard signs
Pulsatile bleedingบริเวณบาดแผล
Hematoma
คลำได้thrill
ฟังได้bruit
6Ps
Pain
Pallor
Poikilothermia
paresthesia
paralysis
Pulselessness
การช่วยเหลือเบื้อต้น
Direct pressure
fluid resuscitation
กระดูกผิดรูป
จัดกระดูกให้เข้าที่
splint
Crush syndrome
บาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนเเรง
บริเวณthigh,calf muscle
เซลล์ตายแล้วปล่อยMyoglobinเกิดภาวะ
Rhabdomyolysis
อาการ
creatinin kinase สูง
Renal failure
DIC
hypovolemia
Metabolic acidosis
Hypocalcemia
อาาการ
Dark Urine
Myoglobin
การช่วยเหลือเบื้อต้น
Fluid resuscitation
osmotic diuretic
แพทย์สั่ง sodium bicabonate
เพื่อลด myoglobin
U/Oได้ 100cc/hr.
Clear myoglobinuria
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
พยาธิสภาพ
น้ำจืด
ความเข้นข้นน้อยหว่าเลือดทีปอด
ถูกดูดซึมเข้ากระเเสเลือดทันที
hypervolemia
ระดับเกลือเเร่ในเลือดลดลง
ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เม็ดเลือดแดงแตก
(hemolysis)
น้ำทะเล
ความเข้มข้นมากกว่าเลือดที่ปอด
ดูดซึมน้ำเลือด
จากกระเเสเลือดเข้าปอด
Pulmonary edema
hypovolemia
ระดับเกลือเเร่สูงขึ้น
หัวใจเต้นผิดปกติ ช็อค หัวใจวาย
คนที่จมน้ำมักตายจากขาดอากาศหายใจ
อาการ
หมดสติ
หยุดหายใจ
หัวใจอาจหยุดเต้น
คลำชีพจรไม่ได้
ถ้าไม่หมดสติ
ปวดศีรษะ
เจ็บอก
อาเจียน
กระวนกระวาย
ไอมีฟองเลือด
ความดันต่ำ
ช็อค
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพการจมน้ำ
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
อายุ
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจม
diving reflexes
สุขภาพผู้จมน้ำ
การรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ
การมึนเมาจากสุรา
ความรู้การว่ายน้ำ
อุณหภูมิร่างกายหลังจมมน้ำ
ช่วงเวลาที่อยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพอย่างรวดเร็วและถูกต้อง
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพ
Pulmonary congestionหรือedema
การสูดสำลักน้ำเข้าไป
Hypotonic solution
เกิดAtelectasis
Hypertonic solution
เกิด Pulmonary damage
ไม่สำลักน้ำ
พบneuroginic pulmonary edema
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
cerebral hypoxia
สมองบวม
circuratory arrest
cerebral perfusionลดลง
เกิดIchemic brain
การเปลี่ยนแปลงกรดด่าง
acidosis
hypo/hypernatremia
hyperkalemia
hypermagnesemia
hypo/hyperchloremia
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิกาย
การพยาบาล
รูเสึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนคลายความตกใจ
ดูเเลร่างกายให้อบอุ่น
แนะนำพบแพทย์
หยุดหายใจ
เป่าปาก ช่วยหายใจทันที
อย่ามัวเสียเวลาเอาน้ำออก
ควรลมมือเป่าปากตั้งเเต่ก่อนขึ้นฝั่ง
เมื่อขึ้นฝั่งเเล้วให้ผายปอดด้วย
เป่าปากต่อไป
คลำชีพจรไม่ได้
นวดหัวใจทันที
ผู้ป่วยหายใจเองได้
จับนอนตะเเคงหงายศีรษะไปข้างหลังเพื่อให้น้ำไหลออกปาก
ใช้ผ้าห่มคลุมเพื่อให้อบอุ่น
อย่าให้กินอาหารและดื่มน้ำทางปาก
ควรพาไปรพ.ทุกราย
นางสาวสุปรียา ถาวิโร 6001210026 secB