Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลครอบครัวและเวชปฏิบัติครอบครัว - Coggle Diagram
การพยาบาลครอบครัวและเวชปฏิบัติครอบครัว
ความหมาย
กลุ่มคนที่มีความสัมพันธุ์กันทั้งทางสายเลือดหรือรับเป็นบุตรบุญธรรมที่มีบทบาทหน้าที่ในครอบครัวอยู่ร่วมในบริเวณเดียวกันรวมถึงบุคคลที่มีความใกล้ชิด
ลักษณะของครอบครัว
มีปฏิสัมพันธ์และสื่อสารระหว่างกันและกัน
มีการจัดระบบระเบียบกฎเกณฑ์
ทำหน้าที่ร่วมกันมีพันธะสัญญาร่วมกัน
ความสำคัญในการดูแลครอบครัว
เป็นเบ้าหลอมทางบุคลกิภาพและคุณลักษณะของสมาชิก
สร้างคุณภาพชีวิต
เป็นสถาบันพื้นฐานทางการศึกษาของสังคม
มีความรับผิดชอบ
วางรากฐานการปกครองในระดับต่างๆ
อิทธิพลของครอบครัว
ระยะป้องกันโรค และส่งเสริมสุขภาพ
ระยะเริ่มต้นการเจ็บป่วย
ระยะยอมรับว่ามีการเจ็บป่วยเกิดขึ้น
ระยะแสวงหาการรักษา
ระยะที่ยอมรับว่าต้องพึ่งพาผู้อื่น
ระยะสุดท้ายของการเจ็บป่วย
กระบวนการการพยาบาล
การประเมินครอบครัว
การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการดูแลครอบครัว
การประเมินผลการดูแลครอบครัว
การประเมินครอบครัว
การประเมินโครงสร้างของครอบครัว
Family tree genogram
การประเมินสัมพันธภาพในและนอกครอบครัว
เป็นการรวบรวมชนิดและระดับความสัมพันธ์ต่างๆ ระหว่างบุคคลกับสิ่งต่างๆทั้งในและนอกชุมชน
การประเมินพัฒนาการครอบครัว
ครอบครัวระยะเริ่มต้น
เป็นการเริ่มต้นครอบครัวที่หนุ่มสาวมีการเลือกคู่ครองของตนเองและทำการสมรสหรือมาอยู่ร่วมกันโดยไม่ได้ทำการสมรส
ครอบครัวระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร
เริ่มตั้งแต่มีบุตรคนแรกจนกระทั่งบุตรอายุ2ขวบครึ่ง
ครอบครัวระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน
บุตรคนแรกอายุ2ปี6เดือนถึง5ปี
ครอบครัวระยะมีบุตรวัยเรียน
เริ่มเมื่อมีบุตรคนแรกอายุ6ปีและ
สิ้นสุดเมื่อบุตรคนแรกอายุ13ปี
ครอบครัวระยะมีบุตรวัยรุ่น
ครอบครัวมีบุตรคนแรกอายุ 13 ปี จนกระทั่งอายุ20 ปี ช่วงเวลานี้ประมาณ 6-7 ปี หรืออาจจะสั้นหรือยาวกว่านี้ขึ้นกับบุตรเริ่มแยกออกไปจากครอบครัว
ครอบครัวระยะมีบุตรแยกจาก
ครอบครัว
ช่วงตั้งแต่บุตรคนแรกจนถึงบุตรคนสุดท้ายแยกจากพ่อแม่ครอบครัวไปอาจไปทำงานไปศึกษาหรือแต่งงานสร้างครอบครัวใหม่จนกระทั่งเกิด“รังร้าง”
ครอบครัวระยะวัยกลางคน
เป็นช่วงที่บุตรแยกไปหมดแล้ว“รังร้าง”มีพ่อแม่หรือสามีภรรยาอยู่ด้วยกันเพียงสองคนและเตรียมตัวเกษียณจากหน้าที่การงาน
ครอบครัวระยะวัยชรา
เป็นระยะสุดท้ายของพัฒนาการครอบครัวเป็นช่วงที่สามีภรรยาเข้าสู่วัยชราเริ่มเกษียณอายุจากภาระหน้าที่การงานและเริ่มสูญเสียคู่สามีภรรยาโดยทั่วไปจะมีอายุประมาณ65ปีหรือมากกว่านั้น
การประเมินบทบาทหน้าที่ของครอบครัว
ด้านความรักความเอาใจใส่
ด้านการอบรมเลี้ยงดู
ด้านการผลิตสมาชิกใหม่
ด้านการเผชิญปัญหา
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการจัดหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานของครอบครัว
การประเมินภาวะสุขภาพภายในครอบครัว
การประเมินภาวะสุขภาพโดยใช้แบบแผนของกอร์ดอน11แบบแผน
แนวคิดการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน
แนวคิดทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล
การพยาบาลแบบองค์รวม
การดูแลต่อเนื่อง
หลักในการจัดการการเยี่ยมบ้าน
ความเร่งด่วนในการช่วยเหลือ
ทราบประวิฃัติการเจ็บป่วยแน่นอนและต้องการความช่วยเหลือ
ต้องให้การพยาบาล
มีอาการเจ็บป่วยไม่รุนแรง
เจ็บป่วยเรื้อรัง
เป็นโรคติดต่อ