Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหลอดเลือด, นางสาวกนกวรรณ จันทร์น้อย เลขที่1 รหัส 612501001 :<3: -…
โรคหลอดเลือด
ความดันโลหิตสูง
-
1.ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (Essential or primary hypertension) ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด มีความเชื่อว่ามีความเกี่ยวพันการปฎิบัติตัวเช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย เป็นต้น
2.ความดันโลหิตสูงที่มีสาเหตุ (Secondary hypertension) เช่น โรคเกี่ยวกับไต และต่อมหมวกไต เป็นต้น
-
-
สาเหตุ
1.โรคไต
1.1 ความปกติของเนื้อไต Renal parenchymal disease, เนื้อไตอักเสบ เฉียบพลัน (acute glomerulonephritis), ไตอักเสบเรื้อรัง (chronic nephritis), เนื้อไตเป็นถุงน้ำ (polycystic disease), โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissure disease), ไตผิดปกติจากเบาหวาน (diabetic nephropathy) และ การอุดตันกรวยไต (hydronephrosis)
-
-
-
-
- ได้รับยาบางชนิด ได้แก่ ยากินคุมกำเนิด ยากลุ่มกลูโคคอร์ติคอยด์ มิเนอโรคอร์ติคอยด์ ซัยโคลสปอร์ริน อิริโธรมัยซิน โมโนเอไมด์ออกซิเดสอินหิบิเตอร์ โตรซัยคลิคแอนตี้ดีเพรสแซน โคเคนและแอมเฟตามีน
- อาหารที่มีสารธัยรามีน เช่น เนยเก่า ตับไก่ เบียร์ ไวน์
- ภาวะเครียดเฉียบพลัน: psychogenic hyperventilation ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
- ความผิดปกติของหลอดเลือด หลอดเลือดแข็ง (Atherosclerosis) หลอดเลือดเออร์ต้าตีบคอด (Coarctation of aorta) มีปริมาตรน้ำในหลอดเลือดมาก
- ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
-
-
-
อาการ
-
-
-
-
-
-
-
อาการอื่น ๆ ที่อาจพบได้ เช่น ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ ใจสั่นและอาการทางพยาธิสภาพของอวัยวะสำคัญที่เสียหน้าที่
-
การประเมินผู้ป่วย
-
-
-
-
5.การตรวจพิเศษ EKG, Film chest
6.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ BUN, Cr, urine albumin, lipid profile, electrolyte, serum for potassium and calcium
การรักษา
1.การรักษาแบบไม่ใช้ยา ได้แก่ การปรับพฤติกรรม (Life Style Modification) ประกอบด้วย การควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย การลดน้ำหนัก และการจัดการกับอารมณ์
2.การรักษาโดยการใช้ยา มีเป้าหมายในการลดระดับความดันโลหิตให้ต่ำกว่า 140/90 mmHgยาที่ใช้อาจใช้เป็นยาเดี่ยวหรือรักษาด้วยยาหลายตัวขึ้นกับอาการของผู้ป่วย
- เบต้าบล็อคเกอร์ (beta blocker) เพื่อลดอัตราการเต้นของหัวใจ และขยายหลอดเลือด
- ยากลุ่ม Calcium channel blocker เพื่อ ลดอัตราการเต้นของหัวใจและลดการรบกวนการทำงานของหัวใจ
- ยากลุ่ม ACEI เพื่อขยายหลอดเลือดและเพิ่ม renal blood flow
- ยาขับปัสสาวะ (diuratic) หรือ pill water)
-
-
-
Thrombopheblitis
สาเหตุ
Thrombopheblitis หมายถึง การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตันโดยลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ มักพบผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงได้แก่ อ้วน ตั้งครรภ์ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ที่ทำให้เลือดมีการไหลชะลอตัว เกิดลิ่มเลือดสะสมที่ผนังหลอดเลือดทำให้เกิดการอักเสบของผนังหลอดเลือดและเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบ อันตรายคือ ลิ่มเลือดลอยไปอุดตันหลอดเลือดที่อวัยวะสำคัญ เช่น ปอด สมอง ไต
อาการ
ปวดบริเวณที่เกิดหลอดเลือดอักเสบ บวม แดง มีการขาดเลือดของอวัยวะที่มีการอุดตัน เช่น อวัยวะส่วนปลายบวม ซีด ปวดน่องเวลากระดกนิ้ว (Homann’s sign) หลอดเลือดดำตื้น ๆ แข็ง บาง แตกง่าย อาจพบคลำชีพจรปลายเท้าได้เบาลง
การรักษา
1.ให้ยาขยายหลอดเลือด และยาละลายลิ่มเลือด เช่น Heparine, coumarin
-
-
-
-
หลอดเลือดดำตีบ (DVT)
โรค DVT หรือ Deep Venous Thrombosis ก็คือ โรคหลอดเลือดดำส่วนลึกอุดตัน หรือ "กลุ่มอาการเครื่องบินชั้นประหยัด" (Economy Class Syndrome)
พยาธิสภาพ
เส้นหลอดเลือดดำจะนำเลือดที่ใช้แล้วกลับสู่หัวใจ โดยอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ร่วมกับลิ้นในหลอดเลือดดำ หลอดเลือดดำที่ขามี 2 ชนิดคือหลอดเลือดดำที่ผิว superficial veinที่สามารถเห็นได้ด้วยตา ซึ่งจะนำเลือดจากผิวไปสู่หลอดเลือดดำส่วนลึก deep veinซึ่งจะอยู่ในกล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำลึกก็จะนำเลือดไปยังหลอดเลือดดำใหญ่ในท้อง inferior venacava
-
-
อาการ
อาการที่สำคัญคืออาการบวมที่เท้าเนื่องจากการไหลกลับของเลือดไม่ดีมักจะบวมข้างเดียว บางรายอาจจะเห็นเส้นเลือดโป่งพอง อาจจะมีอาการปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวพบได้ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย โดยเฉพาะเวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น เมื่อกดบริเวณน่องก็จะทำให้ปวด
-
การตรวจพิเศษ
1.venography คือการฉีดสีเข้าไปในเส้นเลือดที่สงสัยเพื่อดูว่ามีลิ่มเลือดอุดหรือไม่ แต่ให้ผลการตรวจไม่แม่นยำ และอาจจะเกิดอาการแพ้จึงไม่นิยม
-
-
การรักษา
- หากวินิจฉัยว่าเป็น DVT จะต้องรีบให้การรักษาโดยรับตัวไวในโรงพยาบาลแพทย์จะเลือกให้ heparin หรือ low molecular weight heparin หลังจากนั้นต้องให้ warfarin เพื่อป้องกันลิ่มเลือดอีก 3 เดือน
- การป้องการคือการลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำลึกและการป้องกันเส้นเลือดขอด
- วิตามินอีช่วยลดการเกิดโรค
-
-