Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth injury, การบาดเจ็บของ Soft tissue, Bruising and petechiae,…
Birth injury
- เกิดจาการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C8 และ T1 อาจทำให้มือทารกข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
- เกิดจากการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังระดับ C5 C6 และอาจมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
-
- เกิดจากเส้นประสาทคู่ที่ 7 (facial nerve) ถูกกด อาจเกิดร่วมกับการคลอดโดยใช้คีม โดยจะเห็นร่องรอยของคีมบนใบหน้าของทารก การบาดเจ็บชนิดนี้มักเป็นการบาดเจ็บของเส้นประสาท mandibular branch ทำให้ทารกเคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวกับที่มีการบาดเจ็บ หนังตาปิดไม่สนิท และไม่สามารถใช้กล้ามเนื้อใบหน้าส่วนล่างได้ การพยากรณ์โรคดีมาก ส่วนใหญ่จะหายได้เองภายใน 2-3 วัน จนถึงไม่เกิน 2 สัปดาห์
- มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของ brachial plexus ทารกจะมีอาการหายใจลำบาก เสียงหายใจลดลง มักพบอาการตั้งแต่แรกคลอด
- อาจทำให้เกิด paralysis ของเส้นเสียง ทำให้ทารกหายใจลำบาก เสียงแหบ ร้องเบา ไม่มีเสียงร้อง กลืนลำบากและสำลัก วินิจฉัยโดยการทำ direct laryngoscopy ภาวะดังกล่าวนี้มักหายได้เอง
- กระดูกไหปลาร้าเป็นตำแหน่งที่พบการหักได้บ่อยที่สุดสำหรับทารกแรกคลอด มักสัมพันธ์กับการคลอดยาก
- มีพยากรณ์โรคดี สามารถหายได้เองไม่มีผลระยะยาว ควรให้การปรึกษาพ่อแม่เพื่อลดความวิตกกังวล อาจให้ยาแก้ปวดและลดการเคลื่อนไหวของแขนเพื่อลดความเจ็บปวด
- ปัจจัยเสี่ยงได้แก่ คลอดติดไหล่, ทารกมีขนาดใหญ่, การคลอดท่าก้น การผ่าตัดในรายที่ทารกไม่ได้มีศีรษะเป็นส่วนนำ และทารกมีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์
- มักพบในรายคลอดท่าก้นทางช่องคลอด
- ได้แก่กระดูกจมูก กระดูกขากรรไกร กระดูกใบหน้า และ septal cartilage อาจทำให้ทารกหายใจลำบากและมีปัญหาการดูดนม
-
อาจมีการฉีกขาดขณะทำคลอดท่าก้น ทำให้เกิดเป็นก้อนเลือดในกล้ามเนื้อ เมื่อทารกโตขึ้นกล้ามเนื้อด้านที่มีการบาดเจ็บไม่สามารถยืดขยายได้เท่ากับข้างปกติ ทำให้เกิดภาวะคอเอียง (torticollis) ศีรษะของทารกจะเอียงไปทางด้านที่มีการบาดเจ็บต้องรักษาโดยการทำกายภาพบำบัด บางรายอาจต้องผ่าตัดรักษา
-
-
-
- intraventricular hemorrhage
- การบวมของบริเวณศีรษะเหนือ periostreum ส่วนที่บวมจึงอาจข้าม suture lines ได้ บริเวณที่บวมคลำขอบได้ไม่ชัดเจน ตรวจพบตั้งแต่แรกคลอด มักมีขนาดเล็กลงและหายไปเองภายใน เวลาเป็นชั่วโมงหรือ 2-3 วัน
- เกิดจากการฉีกขาดของเส้นเลือดใต้ชั้น periostreum ทำให้มีเลือดออกใต้ต่อ periostreum พบบ่อยบริเวณกระดูก parietal และ occipital bone ลักษณะที่ตรวจพบจะคลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน โดยอยู่บนกระดูกชิ้นเดียวไม่ข้าม suture lines ซึ่ง Cephalhematoma มักทำให้เสียเลือดเพียงเล็กน้อยแต่อาจทำให้เกิดภาวะซีดหรือตัวเหลืองได้
- มีเลือดออกคั่งอยู่ใน subgaleal space ระหว่าง periostreum ของกะโหลกศีรษะกับ aponeurosis จากการฉีกขาดของเส้นเลือด
- พบในทารกที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด มักเป็นการแตกในแนวเส้นตรง ซึ่งพบร่วมกับ Cephalhematoma
-
-
เป็นการบาดเจ็บจากการคลอดที่พบบ่อยที่สุดในการผ่าท้องคลอด ที่พบบ่อยคือ บริเวณส่วนนำ ส่วนใหญ่เกิดในรายที่ผ่าคลอดฉุกเฉินที่ต้องทำผ่าตัดอย่างรวดเร็ว
-
-
- เช่น hyphema, การแตกของกระดูกรอบดวงตา, การบาดเจ็บของ lacrimal duct, การบาดเจ็บของ lacrimal gland เป็นต้น ซึ่งภาวะดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาจากจักษุแพทย์
เกิดได้จากการที่จมูกของทารกถูกกดอยู่กับกระดูก symphysis pubis หรือ promontory of sacrum หากรุนแรงอาจทำให้ทารกหายใจลำบาก ต้องได้รับการรักษาเพื่อไม่ให้เกิดความผิดปกติของกระดูกจมูก และ nasal septum
- ปัจจัยเสี่ยงได้แก่คลอดท่าก้นทางช่องคลอดและทารกที่มีขนาดใหญ่ การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้องที่พบบ่อยที่สุด คือ ตับแตก
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-