Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อ 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์(ต่อ), ดาวน์โหลด, unnamed,…
หัวข้อ 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์(ต่อ)
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
:fire:หูดหงอนไก่เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Human papilloma virus (HPV) ชนิดที่ทำให้เกิดหูดหงอนไก่ ที่อวัยวะเพศ ส่วนใหญ่เป็น type 6 และ 11
:tada:การวินิจฉัย
:tada:การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
:tada:การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นรอยโรค ซึ่งเป็นติ่งเนื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกรอบทวารหนัก ปากช่องคลอด ซึ่งสามารถช่วยประเมินสภาพได้ค่อนข้างแน่ชัด
:tada:การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยทำ pap smear พบการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
:pencil2:อาการและอาการแสดง
:pencil2:หูดขึ้นรอบๆทวารหนัก และในทวารหนัก
:pencil2:ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสเก็ด
:pencil2:คล้ายดอกกระหล ่า
:pencil2:ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
:red_flag:การรักษา
:red_flag:จี้ด้วย trichloroacetic acid
:red_flag:จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
:red_flag:การคลอดสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ซึ่งทำให้ขัดขวางช่องทางคลอด
:unlock:การพยาบาล
:unlock:2. แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศหลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
:unlock:3. แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
:unlock:1. ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษาเช่นจีด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
:unlock:4. เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
:unlock:5. การออกกำลังกายที่พอเหมาะการลดภาวะเครียดและสังเกตการติดเชื้อซ้ำ
โรคเอดส์ในหญิงตั้งครรภ์
(Acquired immunedefiency syndrome)
:fire:“การตรวจพบปฏิกิริยาทางน ้าเหลืองต่อเชื้อ HIV (Human immunodeficiency Virus) เป็ นบวก”
:explode:การวินิจฉัย
:explode:การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด เป็นต้
:explode:การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme–linked
Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB)และ Immunofluorescent assay (IFA) ถ้าให้ผลบวกเป็นการแน่นอนว่าผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์
:explode:การซักประวัติ เช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ หรือใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ รวมทั้งมีอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ HIV
:lock:อาการและอาการแสดง
:lock:กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก มีเพียงการตรวจ Elisa ให้ผลบวก
:lock:กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัวปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
:lock:กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำ ๆ นานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วมด้วย
:!?:การติดต่อ
:!?:1.การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก
:!?:จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission) พบว่าในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอดส์และไม่ได้รับการรักษา ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 15-25%
:!?:ทางกระแสเลือด จากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่มี
เชื้อเอดส์ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
:confetti_ball:การรักษา
:confetti_ball:การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม.
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทำให้หญิงที่กินยา LPV/r หรือ EFV อยู่
เกิด severe vasoconstriction ได้
:confetti_ball:การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
1.ให้ยาหลังคลอดต่อทุกรายที่สมัครใจ มีความพร้อม
CD4 < 500 cells / mm 3
คู่มีผลเลือด ลบ หรือ ไม่ทราบผลเลือดคู่
มีการติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ซี
2.การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
:check:การพยาบาล
:check:ระยะตั้งครรภ์
ให้กำลังใจผู้ป่วยและแนะนำการปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพ
ตนเองและป้องกันการแพร่เชื้อในครอบครัว :silhouettes:
:!:ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
:unlock:ให้ AZT โดยให้ AZT 300 มก. รับประทานวันละ 2 ครั้ง ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์จนกระทั่งคลอด ในระหว่างเจ็บครรภ์คลอดเริ่มให้ AZT 300 มก. ทุก 3 ชั่วโมง ไปจนกระทั่งคลอดก็ให้หยุดยา อาจให้ Nevirapine (NPV) 200 มก.ครั้งเดียวก่อนทารกคลอด
:check:ระยะคลอด
:red_flag:หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
:check:ระยะหลังคลอด
:black_flag:1. ให้อยู่ในห้องแยก
:no_entry:2. งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
:<3:3. เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกำหนด และแนะนำวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ เช่น การทำหมัน
:check:4.ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./
กก./วัน และติดตามการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
:warning:เกิดจากเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) อยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับไวรัสไข้เลือดออก ไวรัสไข้สมองอักเสบ "ยุงลายเป็นพาหะสำคัญของโรค"
:red_flag:อาการและอาการแสดง
:red_flag:ไข้
:red_flag:ปวดศีรษะ
:red_flag:ออกผื่นที่ลำตัว
:red_flag:แขนขา ปวดข้อ
:red_flag:ปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
:unlock: การตรวจวินิจฉัย
:unlock:1.การซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
:unlock:2.การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
-การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา สำหรับการตรวจหา IgM สามารถตรวจพบได้ภายใน 3 วันนับแต่แสดงอาการ การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วยวิธี ELISA หรือImmunofluorescence หากพบว่าผลการตรวจเป็นลบแนะนำให้เก็บ Plasma ส่งตรวจซ้ำภายใน3-4 สัปดาห์
วิธีการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน ้าเหลือง
-การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR เริ่มแสดงอาการ 1-3 วัน
:unlock:3.การวินิจฉัยการติดเชื้อของทารกในครรภ์ สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่งส่งตรวจ เช่น น ้าคร ่า เลือดจากสะดือหรือรก
:!?:ภาวะแทรกซ้อน
:!?:ภาวะศีรษะเล็กแต่ก าเนิดของทารกในครรภ
:silhouette:ติดตามอัลตร้าซาวการเจริญเติบโตของทารกทุก 4 wks
:silhouette:การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง ครั้ง แรกเมื่อแรกเกิด และครั้งที่2 เมื่ออายุ 24 hr
:check:การป้องกัน : ป้องกันยุงกัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุง ยุงลายที่เป็นพาหะมักออกหากินเวลากลางวัน
:recycle:การรักษา
:check:ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
:check:การให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
:check:ดื่มน ้าในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
:check:การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
:!!:ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
เนื่องจากยาบางชนิดเป็นอันตรายสำหรับ โรคนี้อาจทำให้เกิดเลือดออกในอวยัวะภายในได้ง่ายขึ้น
นางสาวสุจิตรา อนุไพร รหัสนักศึกษา 602701105 รุ่นที่ 35