Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage) - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage)
ระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
Primary survey & Resuscitation
Pt.ที่บาดเจ็บกระดูกและข้อ การ Control bleeding ดีที่สุดคือ Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
Pt.กระดูกผิดรูป ให้ทำ splint เพื่อลดอาการปวด
ควรทำการ Immobilization เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งปกติ
Secondary survey
ประเมินผู้ป่วย
ซักประวัติจากผู้ป่วย ผู้นำส่ง
สาเหตุการเกิด
ระยะเวลา
สถานที่
การรักษาเบื้องต้น
ตรวจร่างกาย
มี 3 ขั้นตอน
ตรวจและรักษา Life threatening & Resuscitation
ตรวจเพื่อ Screening test
กระดูกแขนขา ให้ Pt. ยกแขนขาทั้งสองข้าง ถ้ายกได้แสดงว่าปกติ
กระดูกเชิงกรานและซี่โครง นอนหงายกดบริเวณ sternum แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน ถ้าเจ็บแสดงว่าเกิดการหักที่ซี่โครง
กระดูกสันหลัง
ส่วนคอให้ยกคอ หันศรีษะอย่างระมัดระวังในท่านอนหงาย ถ้าทำได้แสดงว่าไม่มีการหักที่ส่วนคอ
ส่วนกระดูกสันหลัง ให้นอนหงานพลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง ใช้มือคลำตามแนวกระดูกตลอดแนว ถ้ามีการบาดเจ็บจะกดเจ็บ/บวมผิดรูป
ตรวจอย่างละเอียด
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้น
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียง Crepitus
เอ็กซเรย์
ถ่าย 2 ท่า คือ Anterior-posterior
ถ่ายให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมข้อปลายกระดูกสองด้าน
Definitive care
Retention ประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่ง รอให้กระดูกติดตามธรรมชาติ
Rehabilitation ฟื้นฟูสมรรถภาพส่วนที่บาดเจ็บ
Reduction จัดกระดูกให้เข้าที่ให้เป็นปกติที่สุด
Reconstruction ซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บ
Recognition ประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน การบาดเจ็บ
Refer ส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major pelvic disruption with hemorrhage
คำนึงถึงภาวะ unstable pelvic fracture จากการฉีกขาดอวัยวะภายใน การบาดเจ็บเส้นเลือด และเส้นประสาท
มักมีการบาดเจ็บของ Bladder&Urethra ถ้ามีการบาดเจ็บที่เกิดจากแรงกระทำด้านข้างของเชิงกรานและการบิดหมุนเข้าด้านใน
การตรวจร่างกาย
ดู พบ Progressive flank, Scrotum, Perineum บวม
คลำ กระดูก Pelvic แตก
การเคลื่อไหว ขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ระบบไหลเวียนพบความดันโลหิตต่ำ
ในรายที่สงสัยส่ง Film pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding โดยการทำ Stabilization pelvic ring
Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด อาจเป็นแบบ Blunt trauma / Penetrating wound
Hard signs
Pulsatile bleeding บริเวณแผล Hematoma
6Ps
Pain
Pallor
Poikilothermia
Paresthesia
Paralysis
Pulselessness
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ทำ Direct pressure เพื่อหยุดเลือด
Fluid resuscitation
ในรายที่กระดูกผิดรูปจัดให้เข้าที่แล้วทำ Splint
Crush Syndrome
มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อบริเวณ thigh และ calf muscle
เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
Creatinin สูง เกิด Renal failure และ DIC เสียงชีวิตได้
อาการที่พบ
Dark urine
Hemoglobin บวก
เมื่อเกิดภาวะ Rhabdomyolysis จะมีอาการ ได้แก่
Hypovolemia
Metabolic acidosis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
DIC
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Fluid resuscitation
ให้ Osmotic diuretic รักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
ให้ Sodium bicarbonate เพื่อลด Myoglobin
ประเมิน Urine output
จมน้ำ (Drowning)
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นหลังจมน้ำ แบ่งได้ 2 ลักษณะ
น้ำจืด
มีความเข้มข้นน้อยกว่าพลาสมา
ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดมากจะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันที
ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มขึ้น (Hypervolemia)
ระดับเกลือในเลือดลดลง อาจทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ/หัวใจวาย
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
น้ำทะเล
มีความเข้นมากกว่าพลาสมา
น้ำที่สำลักอยู่ในปอดจะถูกดูดซึมจากกระแสเลือดเข้าปอด เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (Pulmonary edema)
ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (Hypovolemia)
ระดับเกลือแร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หัวใจวาย/เกิดภาวะช็อก
อาการ
หมดสติ
หยุดหายใจ
ถ้าไม่หมดสติ
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน กระวนกระวาย
ไอมีฟองเลือดเรื่อๆ แสดงว่ามีภาวะปอดบวมน้ำ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ BP ต่ำ, ภาวะช็อก
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพ
สภาพก่อนจมน้ำ
อายุ
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่
Diving reflexes
สุขภาพ
รับประทานอาหารที่อิ่มใหม่ๆ
การมึนเมาจากสุรา
ความรู้ในการว่ายน้ำ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง
CPR ภายใน 10 นาที รอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที รอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
ระบบทางเดินหายใจและปอด
มี Pulmonary congestive/edema
มีการสูดสำลักน้ำเข้าไปจะเกิดพยาธิสรีรภาพกับปอด
Tonicity ของสารน้ำ
Hypotonic solution การจมน้ำจืด
Hypertonic solution การจมน้ำทะเล
Toxicity
Particles และ micro-organism
Pt. ไม่มีการสำลักน้ำ อาจพบภาวะสมองขาดออกซิเจน และเกิด neurogenic pulmonary edema ตามมา
ระบบประสาท
ทำให้เกิด cerebral hypoxia เกิดภาวะสมองบวมตามมา
ภาวะ circuratory arrest ทำให้ cerebral perfusion ลดลง
สมองขาดเลือด Ischemic brain
ระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
น้ำจืดมีความเข้มข้นน้อยกว่าพลาสมา
ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดมากจะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันที
ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มขึ้น (Hypervolemia)
ระดับเกลือในเลือดลดลง อาจทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ/หัวใจวาย
Pulmonary edema ในน้ำเค็ม
เกลือแร่และกรดด่าง
acidosis
PO2 metabolic acidosis
PCO2 respiratory acidosis
น้ำจืด
Hyponatremia, Hypochloremia, Hyperkalemia
น้ำเค็ม
Hypernatremia, Hyperchloremia, Hypermagnesemia
อุณหภูมิในร่างกาย
ลดต่ำลงตามอุณหภูมิน้ำที่แช่
ในเด็กจะลดเร็วกว่าผู้ใหญ่
ผลกระทบจากอุณหภูมิในร่างกายต่ำ
T 37-35 องศา หนาวสั่น ทรงตัวไม่อยู่
T 35-32 องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T 32-28 องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า
T 28-25 องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกติ
T 25-21 องศา หัวใจหยุดเต้น
การปฐมพยาบาล
กรณีที่รู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะนำให้ไปพบแพทย์
ถ้าหยุดหายใจ
ทำการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
คลำชีพจรไม่ได้/หัวใจหยุดเต้น ให้นวดหัวใจทันที
ถ้า Pt. หายใจได้เองจับให้นอนตะแคงข้าง และศีรษะหงายไปข้างหลัง เพื่อให้น้ำไหลออกทางปาก
ใช้ผ้าคลุม Pt. เพื่อให้เกิดความอบอุ่น
:red_cross:กินอาหารและดื่มน้ำทางปาก
ส่ง Pt. ไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกราย ในรายที่หยุดหายใจ ควรผายปอด ด้วยวิธีเป่าปากตลอดทาง