Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มี ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบปัสสาวะ -…
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มี
ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบปัสสาวะ
โรคกลุ่มหลอดเลือดฝอยของไต (Glomerular Disease)
กลุ่มอาการโรคไต /โรคไตเนโฟรติก
(Nephrotic syndrome)
อาการและอาการแสดง
3.ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือด (thromboembolism)
4.การเจริญเติบโตช้า
2.การติดเชื้อ จากการมีโปรตีนต่ำ
5.อาการหายใจลำบาก
1.อาการบวม จะบวมทั้งตัว
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
การบวม
ลักษณะผิวหนังที่บวม
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจปัสสาวะ
มีโปรตีนในปัสสาวะ
ปัสสาวะมีอัลบูมิน 3+ , 4+
ปัสสาวะมีฟองมากกว่าปกติ
1.อาการและอาการแสดง
การแบ่งตามพยาธิสภาพ
Focal segmental glomerulosclerosis (FSGS) คือโรคของโกลเมอรูลัสซึ่งมี sclerosis
เกิดขึ้นที่บางส่วนของโกลเมอรูลัสแบบ segmenta
Membranoproliferative glomerulonephritis (MPGN) ลักษณะทาง light
microscopy จะพบมีทั้งการเพิ่มจำนวนของเซลล์ mesangium
Mesangial proliferative glomerulonephritis (Mes PGN) ลักษณะเฉพาะโดยจะพบ
mesangial cell เพิ่มทั่วไป
Membranous glomerulonephritis (MN) พบน้อยมากในเด็ก
Minimal change nephritic syndrome (MCNS) เป็นกลุ่มที่พบบ่อย ร้อยละ
80 - 90 ของกลุ่มอาการโรคไต (nephrotic syndrome)
การรักษา
การรักษาประคับประคองตามอาการ
1.การรักษาอาการบวม
2.การให้ยาลดความดันโลหิตสูง
การให้วัคซีนป้องกันโรคนเด็ก
การประเมินขั้นต้น (initial evaluation)
3.ผู้ป่วยกลุ่มที่มีการตอบสนองต่อสเตียรอยด์ได้ไม่ดี หรือมีอาการของโรคกำเริบ การรักษา
จะพิจารณาให้ยากดปฏิกิริยาทางอิมมูนร่วมด้วย
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของการกรองที่หลอดเลือดฝอยโกลเมอรูลัส
มีโปรตีนรั่ว
ออกไปในปัสสาวะเป็นจำนวนมาก
ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์อัลบูมินได้เร็วพอ
ภาวะอัลบูมินต่ำในเลือดเกิดขึ้น
พลาสมาที่เกิดจากแรงดึงน้ำไว้หลอดเลือด
ของอัลบูมิน (oncotic pressure) ลดลง
น้ำในหลอดเลือดออกไปอยู่ในเนื้อเยื่อ (interstitial fluid)
เกิดอาการบวม
ภาวะแทรกซ้อน
5.ภาวะเลือดแข็งตังในหลอดเลือด
ภาวะไตวาย
4.ภาวะแคลเซียมต่ำ
3.ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาสเตียรอยด์
2.ภาวะทุพโภชนาการ
1.การติดเชื้อ ที่พบบ่อย คือ ปอดบวม การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
ความผิดปกติของพยาธิสภาพไตโดยตรง (primary nephrotic syndrome)
1.2 ไม่ทราบสาเหตุ (idiopathic nephritic syndrome)
1.3 มีความเสียหายที่หน่วยไตเช่นglomerulonephritis, Acute post –infectious
glomerulonephritis
1.1 congenital nephrosis เช่น congenital nephritic syndrome
มีสาเหตุจากโรคอื่นแล้วทำให้เกิดพยาธิสภาพที่เนื้อไต (secondary nephrotic
syndrome) เช่น hepatitis B, hepatitis C, syphilis, malaria, diabetes mellitus
3.การได้รับสารพิษและยาจำพวก nephrotoxins, trimethadione anticonvulsants, captopril,
gold salts และ NSAID
การพยากรณ์โรค
โรคไตเนโฟรติกชนิด MCNS จะมีการพยากรณ์โรคดี ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยชนิดนี้
จะตอบสนองดีต่อการรักษาด9วยสเตียรอยด์
อุบัติการณ์
พบมากในช่วงอายุ 2 – 6 ปี ถ้าอายุ มากกว่า 8 ปีจะพบได้ ค่อนข้างน้อย พบในเพศชาย
มากกว่าเด็กหญิงอัตราส่วน 2 : 1
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2 มีภาวะน้ำเกินในร่างกาย เนื่องจากมีอัลบูมินในเลือดต่ำ ซึ่งมีผลจากความผิดปกติ
ของไตในการกรอง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 3 เสี่ยงต่อผิวหนังถูกทำลายจาการมีภาวะบวม และมีการเคลื่อนไหวของ
ร่างกายน9อยจากการดำเนินของโรค
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4 เสี่ยงต่อความทนในการทำกิจกรรมลดลงจากการดำเนินของโรค
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล1เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิต9านทานลดลงจากการ
มีโปรตีนใน
เลือดต่ำ และผลการรักษาด9วยสเตียรอยด
ข้อวินิจฉัยที่ 5 เสี่ยงตาอการเกิดภาวะแทรกซ้อนและปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องขณะไ้รับยากดปฏิกิริยาทางอิมมูนทางหลอดเลือดดำ
ความหมาย
มีโปรตีนประเภทอัลบูมินรั่วออกมาในปัสสาวะเป็นจำนวนมากกว่า 50 มิลลิกรัม/
กิโลกรัม/วัน หรือ 40 มิลลิกรัม/ตารางเมตร/ชั่วโมง
โรคที่เกิดจากการเพิ่มของglomerular
permeability
มีไขมันในเลือดสูงเกิน 200
มิลลิกรัม/เดซิลิตร
โรคไตอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Glomerulonephritis: AGN)
อาการและอาการแสดง
การถ่ายปัสสาวะมีโปรตีน (proteinuria or albuminuria)
ภาวะความดันโลหิตสูง (hypertension)
การถ่ายปัสสาวะมีเลือดปน (hematuria)
การคั่งของน้ำในระบบไหลเวียน (circulatory congestion)
การถ่ายปัสสาวะนhอย (Oligouria) หรือไม่ถ่ายปัสสาวะ (anuria)หรือถ่ายปัสสาวะ
ลำบาก(dysuria)
อาการอื่น ๆ
ซีด เนื่องจากไตสร้าง erythropoietin ลดลง
ซึม
เบื่ออาหาร
อาการบวม (edema)
การวินิจฉัย
2.การตรวจร่างกาย
เกี่ยวกับอาการบวมบริเวณหนังตา
บวมทั่วตัว
อาการและอาการแสดง
1.ประวัติการเจ็บป่วย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.1 การตรวจปัสสาวะ
4.2 การตรวจเลือด ตรวจ CBC พบ WBC
4.3 การตรวจหาแบคทีเรีย
พยาธิสภาพ
ร่างกายได้รับเชื้อซึ่งเป็นตัวกระตุ้น เรียกว่า แอนติเจน
(antigen)
ทำให้ร่างกายสร้างภูมิต้านทานแอนติบอดี้(antibody)ขึ้น
เกิดเป็นปฏิกิริยาเชิงซ้อน
(antigen antibody complex)
เกาะที่ผนังหลอดเลือดฝอยในไต เกิดการอักเสบของผนังหลอดเลือด
(endothelial cell)
ภาวะแทรกซ้อน
2.ภาวะปอดบวมไปจนถึงการแพร่กระจายน้ำในช่องปอด
3.ภาวะหัวใจโตไปจนถึงหัวใจวาย
1.ภาวะทางสมองที่เกิดจากความดันโลหิตสูง
4.การทำงานของไตล้มเหลวเฉียบพลัน
สาเหตุ
การติดเชื้ออื่น ๆ ของร่างกาย
Group A beta - hemolytic Streptococcus
Systemic lupus erythematosus (SLE)
การติดเชื้อจากผิวหนัง
การรักษา
2.อาหารและน้ำดื่ม
2.2 การจำกัดเกลือ
ลดปริมาณเกลือโซเดียมและโพแทสเซียม
2.1 การจำกัดน้ำดื่ม ในรายที่ปัสสาวะออกน้อยกว่า 250 มิลลิลิตร/ตารางเมตร/วัน หรือน9อย
กว่า 0.5 – 1 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง
2.3 การจำกัดอาหารโปรตีน
3.การรักษาด้วยยา
-ยาต้านฤทธิ์ adrenaline ได้แก่ propanolol, captopril
ยาขยายหลอดเลือด เช่น hydralazine, reserpine
ยาที่ช่วยลดปริมาตรของน้ำในร่างกาย คือ ยาขับปัสสาวะ เช่น furosemide หรือ lasix
การพักผ่อน
4.การรักษาอื่นๆ
การให้เลือด ในรายที่เสียเลือดทางปัสสาวะหรือมีภาวะซีด
การทำ peritoneal dialysis เป็นการรักษาระยะสั้น
การให้ออกซิเจนในรายที่มีอาการเหนื่อยหอบ
ความหมาย
การอักเสบอย่างเฉียบพลันของโกลเมอรูลัส
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 3
มีการคั่งค้างของน้ำ เกลือ และของเสียในร่างกาย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4
มีโอกาสติดเชื้อเพิ่มจากการเคยมีประวัติติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2
มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจวาย และเซลล์ของร่างกายขาดออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 5
มีความวิตกกังวลจากการแยกจาก(separate anxiety)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1
เสี่ยงต่อการเกิดอาการชักจากการมีความดันโลหิตสูง เนื่องจากการเพิ่ม
ปริมาตรของน้ำและเกลือในร่างกาย และจากการไหลเวียนของ GFR ลดลง
โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract Infection: UTI)
อาการและอาการแสดง
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน
เด็กอายุ 3 – 5 ปี
ปวดบั้นเอวด้านหลัง
เมื่อยตามตัว
ปวดท้อง
หนาวสั่น
ไข้สูง
เด็กอายุ 1 เดือน – 2 ปี
น้ำหนักน้อย
อาเจียน มีไข้
ปัสสาวะมีกลิ่นผิดปกติ
ปัสสาวะบ่อย กะปริดกะปรอย
เด็กอายุ 3 – 5 ปี
หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน
ไข้สูง
ปัสสาวะขุ่น ทุบเจ็บบริเวณบั้นเอว
เด็กอายุน้อยกว่า 1 เดือน
น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
กระวนกระวาย
ซีดเหลือง ซึม
ไข้อุณหภูมิต่ำ
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
เด็กเล็ก
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะเล็ดหรือราด
ปัสสาวะรดที่นอน
ร้องไห้เวลาถ่ายปัสสาวะ
เด็กโต
ปัสสาวะบ่อย
กะปริดกะปรอย
ปวดบริเวณท้องน้อย
ปัสสาวะขุ่น มีเลือดปน
บ่นเจ็บแสบเวลาถ่ายปัสสาวะ
การวินิจฉัย
3.การตรวจทางรังสี และการตรวจอื่น ๆ
3.1 อัลตราซาวน์ เป็นการตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นความถี่สูง
3.2 Voiding cystourethrogram (VCUG)
3.3การตรวจทางnuclear medicine
2.การตรวจเลือด
2.1 การเพาะหาเชื้อจากเลือด(hemoculture)
2.2 การตรวจเลือดทางชีวเคมี (blood chemistry)
การตรวจปัสสาวะ
1.1 การทำ urinalysis
1.2 การเพาะเชื้อ (urine culture)
1.3 การทำ Nitrite test
พยาธิสภาพ
เชื้อจุลชีพเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ
จะเกาะติดกับผนังเยื่อบุเซลล์
แบ่งตัว เจริญเติบโต ทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ
เกิดการระคายเคืองีการอักเสบต่อไปทำให้กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย ทำให้ปัสสาวะบ่อยกลั้นไม่ได้
หากเชื้อผ่านจากกระเพาะปัสสาวะเข้าสู่ท่อไต จะเกาะติดกับผนังท่อไต
ปล่อยสารที่ออกฤทธิ์ต่อ
กล้ามเนื้อเรียบของท่อไต ทำให้ท่อไตขยายตัว และเกิดการอุดตัน(physiologic obstruction)
รูปร่างของกรวยไตเปลี่ยนแปลง เกิดการไหลย้อยของปัสสาวะเข้าสู่ไตไดง่ายขึ้น
1 more item...
สาเหตุ
แพร่กระจายขึ้นโดยตรง (ascending infection)
ทางกระแสเลือด (hematogenous route)
แบคทีเรีย โดยเฉพาะกลุ่ม E.coli
ทางน้ำเหลือง (lymphatic route)
การรักษา
การรักษาโดยการให้ยาปฏิชีวนะ
2.1 ยาปฎิชีวนะที่เลือกใช้ ควรมีความเข้มข้นของยาสูงในปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัดจำเป็นต้องใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ
การรักษาทั่วไป
1.3 ให้ยาลดไข้ ยาแก้ปวด
1.2 ให้อาหารอย่างเพียงพอ
1.1 การให้น้ำ เพื่อช่วยให้เชื้อโรคในปัสสาวะเจือจางลง
ตำแหน่งการติดเชื้อ
UTI ส่วนล่าง
การติดเชื้อบริเวณท่อปัสสาวะ(urethritis) และกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
UTI ส่วนบน
การติดเชื้อของ ท่อไต (urethritis) กรวยไต (pyelitis)และเนื้อไต (pyelonephritis)
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2
เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ อิเลคโทรลัยท์และสารอาหาร
เนื่องจากมีคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 3
ไม่สุขสบายจากอาการปวดหลัง/บั้นเอว/ถ่ายปัสสาวะบ่อยและมีอาการ
เจ็บปวดขณะถ่าย/มีไข้
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเพิ่ม เนื่องจากมีนิ่วในทางเดินปัสสาวะ มีปัสสาวะ
ไหลย้อน(VUR) หรือ มีพฤติกรรมส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4
มีโอกาสเกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ำ