Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
หน้าที่ของระบบไหลเวียนโลหิต
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์และนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเซลล์
รักษาสมดุลกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสมดุลของเหลว
ควบคุมอุณหภูมิ
ลำเลียงฮอร์โมน
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกัน
โรค
Congenital heart disease
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
กลุ่มไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินปกติระหว่างปอดและหัวใจ
เป็นความผิดปกติของ Ductuus arteriosus ที่เชื่อมหลอดเลือดแดงใหญ่กับหลอดเลือดปอดที่เปิดหรือปิดไม่สนิท
สาเหตุ
เกิดจากDuctuus arteriosusไม่ปิดตามธรรมชาติ
ภาวะหลังคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด
การติดหัดเยอรมันในระยะ3เดือนเเรกของการตั้งครรภ์
Ventricular Septal Defect(VSD)
Atrial septal Defect(ASD)
Coarctation of aorta
ภาวะที่มีการตีบตันของAorta
เกิดที่
Aortic isthmus ใต้ Left subclavian
Preductal type มีการตีบก่อนถึงDuctus arteriosus มักเสียชีวิตตั้งแต่เด็ก
Ductal type ตีบที่Ductus
Postductal type ตีบใต้ต่อ ductus arteriosus กลุ่มนี้มีชีวิตถึงผู้ใหญ่ได้
Pulmonary Stenosis
Aortic Stenosis
กลุ่มที่มีอาการเขียว(Cyanotic)
Tetralogy of fallot (TOF)
Transoosition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ Aorta ออกจาก Ventricle ขวา และPulmonary artery ออกจาก ventricleซ้าย
Pulmonary atresis
pulmonary valve ตันหรืดตีบจนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจอย่างอื่น
Tricuspid atresia(TA)
ไม่มี Tricucpid valve ทำให้เลือดเข้าRVไม่ได้
ทำให้เลือดจากRAต้องผ่านASDเข้าปอดทางPDA หรือVSD
ถ้ามีTransposition of great artery ร่วมจะมี CHF
โรคลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenotic valve)
ลิ้นหัวใจแคบ หนา แข็ง ติดกัน กีดกั้น
ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mital stenosis)
เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจหลังการติดเชื้อ Group A Streptococcal pharyngitis ที่เรียก Rheumatic heart disease
Acute rheumatic fever สามารถทำให้หัวใจอักเสบได้ทุกชั้น เรียก Rheumatic carditis
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ(Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
ภาวะที่พบบ่อย
เกิดจาก กระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจคล้ายกับกระบวนการ atherosclerosis พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นพูลโมนิคตีบ (Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจเปิดไม่เต็มที่
ลิ้นหัวใจรั่ว(Regurgitate valve)
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
ลิ้นหัวใจรูมาติก(Rheumatic heart disease)
เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ หรือผิวหนัง
ลิ้นหัวใจเปิก-ปิดไม่ดีเหมือนปกติ
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative)
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย ส่วนใหญ่พบใชอายุ40ปีขึ้นไป
ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูป
ความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพไป
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
เกิดการตายของกล้ามเนื้อ
เมื่อเป็นมาก อาจทำให้เป็นโรคลิ้นหัวใจรั่ว
ส่วนใหญ่จะพบในคนอายุ50-60ปี
สาเหตุุ
การติดเชื้ออื่นๆที่มีการทำลายลิ้นหัวใจ
Bacterial endocarditis
Atherosclerosis
โรคหลอดเลือดหัวใจหรือหัวใจขาดเลือด
ST Elevation MI
กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและตายเฉียบพลัน
มักเกิดลิ่มเลือดที่อุดตันหลอดเลือด
การวินิจฉัยที่รวดเร็ว และการรักษาจะลดอัตราการเสียชีวิต
การปวด(Angina Pectoris)
ขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ
มีการปวดร้าวที่ไหล่ แขน มือซ้าย คอ คาง
แบบคงที่ (Stable angina)
เส้นเลือดมีตำแหน่งตีบตัน หัวใจเต้นปกติเลือดพอ
หัวใจเต้นเร็วขึ้น เลือดเลี้ยงไม่พอ
ไม่เคยมีกล้ามเนื้อหัวใจตาย (Heart Attack)
แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตัน
อาการ เจ็บหน้าอก
สาเหตุ
การเกิดรอยแตกที่คราบไขมัน ซึ่งพอกผนังเส้นเลือดแดงอยู่
อักเสบแล้วคั่งแข็งตัวจนเกิดการอุดตัน
เจ็บหน้าอกมาก หรืออาจจะเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย
หัวใจวาย(Heart attack)
เป็นการเสียหายหายของกล้ามเนื้ออย่างถาวร
อาการรุนแรงมาก เหงื่อออก หมดแรง
Rheumatic Heart Disease
ไม่ได้เป็นแบบกำเนิด
มักพบในเด็ก อาการบางครั้งไม่ได้ชัดเจน
เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่พบว่าเกิดลิ้นหัวใจพิการ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อคออักเสบหรือต่อมทอลซิลอักเสบ
Beta- hemolytic
Streptococcus Group A
ผล
เกิดผังผืดเกาะยืดบริเวณลิ้นหัวใจ(fibrosis)
ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่
เยื่อบุหัวใจอักเสบ
มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว
เรียก Vegetation
การเกิดเชื้อโรคในกระแสโลหิตจากสาเหตุใดๆก็ตาม
Infective Endocarditis
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
มักเกิดกับหัวใจปกติ
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
Subacute Bacterial Endocarditis
เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้น
หัวใจหรือลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
Atherosclerosis
พบบ่อยที่สุดและสeคัญที่สุด
ตeแหน่งที่พบบ่อยคือ Abdominal aorta
พยาธิสภาพคือพบไขมันสะสมใน Tunica
intima
เห็นเป็นแผ่นนูน(Plaque) สีเหลืองเรียก
atheroma
สาเหตุ
อาหารและภาวะHypercholesterolemia
Hypertention
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
Monckeberg medial calcific sclerosis
พบในหลอดเลือดขนาดกลาง
มี calcification ชั้น Tunica media
พบบjอยในผู้สูงอายุ
Buerger's disease:TAO
ลักษณะของโรค
ไม่มี atheromas หรือเกิดน้อยมาก
การอักเสบที่ไม่ได้ติดเชื้อ
การอุดตันของหลอดเลือด
ลักษณะสัมพันธ์กับ การสูบบุหรี่
อาการ
ปวดอวัยวะที่ขาดเลือด
เป็นแผลเรื้อรัง
สาเหตุ
ไม่แน่ชัด
การสูบบุหรี่
Aneurysm
หลอดเลือดแดองงโป่งพอง
เกิดเฉพาะที่ Localizedและเป็นอย่างถาวร
True=ทุกชั้น
False=บางชั้น
ชนิด
Fusiform aneurysm โป่งพองตามแนว axis of vessel
Saccular aneurysm โป่งพองตามแนว
tangential of axis
Dissecting aneurysm การโป่งพองที่มีการแยก
ชั้น intima
สาเหตุ
พยาธิสภาพเกิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลงจึงทeให้หลอดเลือดโป่งออกมา
ngenital
Berry aneurysm
Acquired
ตำแหน่ง
Aorta – 95% สัมพันธ์กับโรคatherosclerosis
ปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่
มีความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุเกิน60ปี
มีญาติเป็นAAA
AAA
อาจไม่ผิดปกติ
คลำชีพจรได้ในท้อง
เจ็บท้อง
เจ็บขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
โรคหลอดเลือดดำ
Varicose vein
มี Bicuspid valve ให้เลือดไหลจาก
Superficial Deep
Etiology
Primary varicose vein
Secondary varicose vein
Thrombophlebitis
Phlebothrombosis
ระบบไหลเวียนโลหิตแบ่งเป็น
วงจรไหลเวียนทั่วกาย (Systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียน ออกจาก LVไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายแล้วกลับเข้าRA
ทำงานกว้างขวาง เรียก วงจรใหญ่ (greater circulation)
วงจรไหลเวียนผ่านปอด (polmonary circulation)
เลือดที่เข้าRA จะเทลงสู่ RV แล้วส่งไปปอด และกลับเข้ามายังLAใหม่
ทำงานน้อยกว่า เรียก วงจรเล็ก (lesser circulation)
แบ่งออกเป็น
หัวใจ
หน้าที่
เปิด-ปิด
ให้เลือดไหลในทิศทางเดียว และไม่ไหลย้อนกลับ
แบ่งออกเป็น
ซีกว้าย ห้องบนและล่าง
ซีกขวา ห้องบนและล่าง
ห้องบนกับล่างมีลิ้นหัวใจกั้นอยู่
หลอดเลือด
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ
Coronary artery
เอออร์ตา
โคโรนารี่ด้านซ้าย
เลี้ยงส่วนที่เหลือทั้งหมด
Left anterior descending =แขนงที่มาด้านหน้า
Left circumflex artery=แขนงที่อ้อมไปด้านหลัง
โคโรนารี่ด้านขวา
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวาและด้านซ้ายส่วนล่าง