Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต, นางสาวศศิวิมล วุฒิเขตร์ ห้อง 1A เลขที่ 70 …
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
หลอดเลือดแดงโปร่งพอง
(Aneurysm)
ชนิดของ Aneurysm
Fusiform aneurysm
การโปร่งพองตามแนว
axis of vessel
Saccular aneurysm
การโปร่งพองตามแนว
tangential of axis
Dissecting aneurysm
การโปร่งพองที่มีการแยกชั้น
intima ออกจากผนังของหลอดเลือด
การโปร่งพองของหลอดเลือดเฉพาะที่ (localized)
สาเหตุ พยาธิสภาพเกิดจากความแข็งแรงของผนังหลอดเลือดลดลง ทำให้หลอดเลือดโป่ง
การโป่งพอง
หลอดเลือด
True
การโป่งพองทุกชั้นของหลอดเลือด
False
การโป่งพองเฉพาะบางชั้นของหลอดเลือด
Acquired (ภายหลัง)
Inflammation / Infection Syphilis (การอักเสบ)
Degeneration (การเสื่อม,การสลายตัว) ทำให้เกิด
atherosclerosis (หลอดเลือดแดงแข็ง, ไขมันเกาะจับเส้นโลหิต)
Trauma / Iatrogenic (บาดแผล)
ตำแหน่งที่พบ
การโป่งพอง
Circle of Willis
Aorta 95% สัมพัธ์กับโรคatherosclerosis
lliac artery,femoral artery, popliteal artery
Splenic artery, hepatic artery, mesenteric artery (<1%)
Abdominal Aorta Aneurysm (AAA)
โรคหลอดเลือดแดงเอออร์ตา
ในช่องท้องโป่งพอง
ปัจจัยเสี่ยง
ความดันโลหิตสูง
เพศชาย อายุ > 60 ปี
สูบบุหรี่
มีญาติสายตรงเป็น AAA
อาการ
คลำชีพจรได้ในท้อง คล้สายหัวใจเต้น
เจ็บท้อง หรือหลังส่วนล่างอย่างรุนแรง
ไม่มีอาการผิดปกติ
ปวดขา ขาเปลี่ยนสี เป็นแผล
Varicose vein
โรคเส้นเลือดขอด
Anatomy
Superficial (ผิวเผิน)
Deep ( ลึก,ส่วนที่อยู่ลึก)
Perforating (ถูกเจาะเป็นรู)
มี Bicuspid valve ให้เลือดไหลจาก
Superficial ไป Deep
Etiology (สาเหตุ)
Primary varicose vein
เป็นผลจาก incompetence
ของ one way valve
ของ superficial vein
Secondary varicose vein
เกิดจาก valvular incompetence ของ perforating vein เป็นตามหลัง DVT
โรคที่เกิด
Esophageal varices
(หลอดเลือดในหลอดอาหารโป่งพอง)
Thrombophlebitis
การเกิดลิ่มเลือดหลุดลอยไปตามกระแสเลือด (Embolization)
Hemorrhoid (ริดสีดวงทวาร)
เยื่อบุหัวใจอักเสบ (Endocarditis)
มีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิว
เรียก Vegetation
เกิดติดเชื้อในกระแสเลือดและจับเป็นก้อนตามลิ้นหัวใจ ผนังหัวใจ เรียกว่า ก้อนเชื้อ (Vegetation) ก้อนเชื้อเมื่อหลุดไปจะอุดตันในหลอดเลือดและเกิดฝีหนองขึ้น
Infective Endocarditis
Subacte Bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย เกิดกับผู้ที่มี
ความผิดปกติลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
Acute bacte bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง มักเกิดกับหัวใจปกติ
Atherosclerosis
พบบ่อยที่สุดและสำคัญที่สุด
ตำแหน่งที่พบคือ Abdominal aorta
เป็นแผ่นนูน (Plaque) สีเหลืองเรียก atheroma
สาเหตุ
การสูบบุหรี่, เบาหวาน, Hypertention,
Hypercholesterolemia
Monckeberg medial calcific sclerosis
พบในเลือดขนาดกลาง มี calcification
ชั้น Tunica media พบบ่อยในผู้สูงอายุุ
โรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาแต่กำเนิด
(Rheummatic Heart Disease)
มัเกิดจากการติดเชื้อคออักเสบ หรือต่อมทอนซิลอักเสบ
มักพบในเด็ก โดยเด็กไม่มีอาการชัดเจน
เมื่อเป็นผู้ใหญ่จะพบลิ้นหัวใจพิการ จัดว่าเป็นสาเหตุโรคลิ้นหัวใจพิการ (ตีบ รั่ว) พบบ่อยสุด
ผลตามมาของโรค คืเกิดผังผืดเกาะบริเวณลิ้นหัวใจ (fibrosis) ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง
เปิดไม่เต็มที่ (ตีบ) ปิดไม่สนิท (รั่ว)
Buerger disease
Thromboangiitis
Obliteran (TAO)
ไม่มี atheromas หรือเกิดน้อยมาก
มีการอักเสบของหลอดเลือดที่ไม่ได้
เกิดจากการติดเชื้อ
อาการ ปวดในตำแหน่งที่ขาด
เลือดทั่วไปเช่นปวดแขน
ปวดขา เป็นแผลเรื้อรัง
สาเหตุ
ยังไม่รู้แน่ชัด แต่การสูบบุหรี่ ได้รับควันบุหรี่เป็นสาเหตุ
สำคัญการเกิดโรค
ระบบไหลเวียนโลหิต
วงจรไหลเวียนทั่วร่างกาย
(Systemic circulation)
เลือดที่ไหลเวียนออกจาก LA ไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแล้วกลับมาเข้า RA เรียกวงจรนี้ว่า วงจรใหญ่ (Greater circulation)
วงจรไหลเวียนผ่านปอด
(Pulmonary circulation)
เลือดที่ส่งมาเข้า RA ลงสู่ RV ไปปอด จากนั้นกลับเข้า LA ใหม่ เรียกวงจรนี้ว่า วงจรเล็ก (Lesser circulation)
การไหลเวียนโลหิต
หัวใจ
หลอดเลือด
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
Atrail Septal Defect (ASD)
Coarctation of Aorta
ภาวะที่ตีบตันของ aorta เกิดที่ aortic isthmus ใต้ left subclavian artery
Ductal type
ส่วนที่ตีบจะอยู่ตรงกับส่วนต่อของ ductus พอดี
Postductal type
การตีบใต้ต่อ ductus arteriosus
จะมีชีวิตโตจนถึงเป็นผู้ใหญ่
Preducal type
การตีบก่อนถึง ductus arteriosus
มักเสียชีวิตแต่เด็ก
Ventricular Septal
Defect (VSD)
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติ
ระหว่างปอด หัวใจ เป็นความผิดปกติ
ของหลอดเลือด ductus arteriosus
หลอดเลือดแดงและหลอดเลือดปอดที่
เปิดอยู่หรือปิดไม่สนิท
Pulmonary Stenosis
โรคลิ้นหัวใจพัลโมนารีตีบแคบ
Aortic Stenosis
โรคลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบ
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Tetralogy of fallot
(TOF)
Pulmonary Valve Stenosis
Overriding of aorta
Right Ventricular Hypertrophy
Ventricular Septal Defect
Pulmonary atresia
Pulmonary valve
ตัน ตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
อาจเกิดร่วมกับความพิการของหัวใจ
Tricuspid atresia (TA)
ไม่มี Tricuspid valve ทำให้เลือดเข้าสู่ RV ไม่ได้
ทำให้เลือดจาก RA ผ่าน ASD
แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
ต้องมี CHF
(ภาวะหัวใจล้มเหลว)
Transposition of
the great aterirs
(TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก
ventricle ขวา และ pulmonary artery
ออกจาก ventricle ซ้าย
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ (Stenotic valve)
ลิ้นหัวใจแคบลง แข็ง หนา ทำให้เลือดไหลไม่สะดวก
ลิ้นไมตรัสตีบ (Mitral stenosis)
การอักเสบจากเชื้อ Group A Streptococcal pharyngitis
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ (Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ (Aortic stenosis)
พบบ่อยจากการสะสมของแคลเซียมและ
เซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ลิ้นพูลโมนิคตีบ (Pulmonic stenosis)
ลิ้นหัวใจรั่ว (Regurgitate valve)
ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท ทำให้เลือดไหลย้อนกลับ
ลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heat disease)
การติดเชื้อในลำคอหรือผิวหนัง ทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทาน ทำลายเนื้อเยื่อลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย (Degenerative)
พบในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป เนื่องจากความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพไป
Aortic regurgitation
Pulmonary regurgitation
Mitral regurgitation
Tricuspid regurgitation
โรคหลอดเลือดหัวใจ
หรือ โรคหัวใจขาดเลือด
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
กล้ามเนื้อหัวใจได้รับออกซิเจนไม่สมดุลกับที่ใช้ไป
การปวดหัวใจ
(Angina Pectoris)
แบบคงที่ (Stable angina)
ถ้าเริ่มทำงานแล้วหัวใจแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้น
เลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจในปริมาณเดิมก็จะ
ไม่เพียงพอ เกิดเวลามีการใช้กำลังกายหรือ
มีความเครียด ตื่นเต้น
แบบไม่คงที่ (Ustable angina)
ภาวะเลือดตีบตัน ไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเช่นการนั่งพัก นอนหลับ หรือขณะใช้กำลังกาย
อาการเจ็บหน้าอกปานกลางถึงรุนแรงเพราะอาจขาดเลือด (Heart attack)
สาเหตุ
เกิดรอยแตกที่คราบไขมัน พอกผนังเส้นเลือดแดง
ก้อนเลือดคั่งแข็งตัวมีขนาดใหญ่ขึ้นจากการอุดตัน
นางสาวศศิวิมล วุฒิเขตร์
ห้อง 1A เลขที่ 70
รหัสนักศึกษา 623601071