Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
“การพยาบาลด้านจิตสังคมสําหรับผู้ประสบสาธารณภัย” - Coggle Diagram
“การพยาบาลด้านจิตสังคมสําหรับผู้ประสบสาธารณภัย”
ปฏิกิริยาของผูู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง
ด้านปฏิกิริยา/การแสดงออก
นอนไม่หลับ หลับๆตื่นๆ ฝันร้าย ตกใจง่าย ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ
เฉยเมย แยกตัวออกจากสังคม หวาดระแวง กวาดตามองไปมาบ่อยๆ หันเข้าหาสุราของมึนเมาและยาเสพติดมากขึ้น
ด้านอารมณ์
ช็อค ไม่ยอมรับในสิ่งที่เห็น วิตกกังวล กลัว เศร้า โกรธ ต้องการแก้แค้นฉุนเฉียวง่าย โทษตัวเองและผู้อื่น อารมณ์แกว่งไปแกว่งมา คาดเดาไม่ได้
ด้านร่างกาย
อาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ รู้สึกร้อนหรือหนาว รู้สึกตีบแน่นในลำคอหนักขึ้น ทำให้สุขภาพทรุดโทรมหนักปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ปวดท้องและคลื่นไส้อาเจียน ความอยากอาหารลดลงหรือเพิ่มขึ้น อาการกำเริบ
ด้านการรับรู"
สับสน มึนงง ไม่มีสมาธิ มีปัญหาด้านความจำ มีปัญหาในการตัดสินใจ
*
ภายใน 1 เดือน ถ้าหากอาการเหล่านี้ยังคงอยู่ จำเป็นต้องพบเชี่ยวชาญ
ทางด้านจิตใจ เช่น จิตแพทย์ นักจิตวิทยา พยาบาลจิตเวช เพื่อให้การช่วยเหลือต่อไป
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต
ปฏิกิริยาทางจิตใจแบบโกรธ (Anger)
ปฏิกิริยาทางจิตใจแบบต่อรอง (Bargaining)
ปฏิกิริยาทางจิตใจแบบช็อคและปฏิเสธ (Shock & Denial)
ปฏิกิริยาทางจิตใจแสดงอารมณ์เศร้า (Depression)
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต
ด้านจิตใจ เกิดอาการหวาดกลัว/หวาดผวา สถานที่เกิดเหตุการณ์หรือสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ส่งผลให้ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตและทำงานเหมือนอย่างเดิมได้ เกิดปัญหาความเจ็บป่วยทางจิตเวช ได้แก่ โรคเครียดแบบเฉียบพลัน (Acute traumatic Stress Disorder) และโรคเครียดหลังเกิดเหตุการณ(Posttraumatic
Stress Disorder) โดยเฉพาะอาการกลัวว่าเหตุการณ์รุนแรงนั้นจะย้อนกลับมาอีก (Flashbacks)
ด้านร่างกาย ร่างกายอ่อนแอ การพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีอาการนอนไม่หลับที่เกิดจากการฝันร้ายกลางดึกเกี่ยวกับเหตุการณ์รุนแรงที่เกิดขึ้นรวมทั้งภาพความสูญเสียของตนเอง ตื่นนอนกลางดึก หลับๆ ตื่นๆ
ด้านพฤติกรรม ไม่สนใจดูแลตนเองและสิ่งแวดล้อม แยกตัวออกจากสังคม ปฏิเสธการรับรู้เรื่อราวต่างๆ ลักขโมยหรือก่ออาชญากรรมในผู้ที่รู้สึกว่าไม่ได้รับความยุติธรรมหรือผู้ที่ได้รับการดูแลไม่ทั่วถึงโดยเฉพาะการขาดปัจจัย 4 การติดยาหรือสารเสพติดเพื่อเป็นทางในการแก้ปัญหาและต้องการเหลีกเลี่ยงการเผชิญความรู้สึกในด้านลบของตนเอง
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (MCATT)
ทีมระดับอำเภอ หมายถึง ทีม MCATT ประจำพื้นที่ในระดับอำเภอ ประกอบด้วย จิตแพทย์/แพทย์ พยาบาลที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวชนักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (เช่น ตํารวจ ทหารเจ้าหน้าที่เวชกิจฉุกเฉิน ฯลฯ)
ทีมระดับจังหวัด หมายถึง ทีม MCATT ประจำพื้นที่ระดับจังหวัด ประกอบด้วย จิตแพทย์พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยานักสังคมสงเคราะห์นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทีมระดับตําบล หมายถึง ทีม MCATT ประจำพื้นที่ในระดับตำบล ประกอบด้วยผอ.รพ.สต.และ ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต รพ.สต.อสม.เจ้าหน้าที่มูลนิธิตัวแทนจาก อปท. แกนนําชุมชน เช่น กํานัน/ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต หมายถึง ทีม MCATT ประกอบด้วยจิตแพทย์พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยาักสังคมสงเคราะห์นักวิชาการสาธารณสุขเภสัชกรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มีหน้าที่เป็นที่
ปรึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ทีม
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological first Aid: PFA) ด้วยหลักการ EASE
วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข"าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement: E)
a. การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม สิ่งที่ต้องสังเกตคือ
Nonverbal ได้แก่ สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย
Verbal ได้แก่ พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
b. การสร้างสัมพันธภาพ
วิธีการเริ่มจากการที่ผู้ให้การช่วยเหลือควรมีท่าทีสงบนิ่ง มีการแนะนำตัวเอง มีการมองหน้าสบตา รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กำลังใจด้วยการพยักหน้า การสัมผัส
c. การสื่อสาร
ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A) โดยใช้หลักการประเมิน 3 ป
b. การประเมินสภาพจิตใจ ประเมินสภาพจิตใจของผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในช่วงอารมณ์
ความรู้สึกช็อค ปฏิเสธ โกรธ ต่อรอง หรือเศร้าเสียใจ
ผู"ประสบภาวะวิกฤตอยู&ในภาวะช็อกและปฏิเสธ คือ มึนงง สับสน หลงลืม จำอะไรไม่ได้ความคิดแตกกระจายไม่สามารถเชื่อมโยงความคิด การรับรู้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไปปฏิเสธไม่ยอมรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเอง มีอารมณ์เศร้า โกรธรุนแรง ควบคุมตนเองไม่ไดมีอาการทางกาย ใจสั่น มือสั่น ตัวสั่น หายใจถี่แรงทักษะการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ เช่น ตะโกน ด่าทอ กำมือ ขบกราม เกร็ง ตาขวาง กระวนกระวาย เดินไปมา มือปากสั่น ทำร้ายตนเองหรือขว้างของรอบตัวกล่าวโทษแก่บุคคลอื่น พูดขู่อาฆาต ไม่ร่วมมือแยกตัว ทักษะการช่วยเหลือ
ผูู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง เช่น พูดซํ้าๆ หรือพูดคาดคั้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พูดรุกเร้าขอให้ช่วย ขอเข้าไปดู/เยี่ยมญาติ เรียกร้องหรือต่อรองเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สามารถตอบสนองให้ได้จริงในเวลานั้นไม่สามารถยอมรับความจริงที่เกิดขึ้นได้ อาจคาดหวังปาฏิหาริย์ บนบานศาลกล่าว
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ เช่น ร้องไห้ ครํ่าครวญ ซึมเศร้า คอตก ท่าทางเลื่อนลอยแยกตัวนิ่งเงียบ ไม่อยากทำอะไร โทษตัวเอง มองไม่เห็นทางออก หมดเรี่ยวแรง อาการทางกายอาจแสดงออกมา เช่น การหมดเรี่ยวแรงไปเฉยๆ หรือการหายใจไม่ออก
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย การปฐมพยาบาลทางจิตใจต้องระมัดระวัง ใส่ใจทุกรายละเอียดเพื่อประเมินหาสัญญาณของภาวะ/ ความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัดที่บ่งบอกว่าผู้ประสบภาวะวิกฤตได้รับการตอบสนองความต้องการที่ได้จากการประเมินแล้ว
1) ผู้ประสบภาวะวิกฤตรับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล
2) อารมณ์สงบ
3) ลดเงื่อนไขในการต่อรองลง อาจต่อรองในสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากขึ้น ยอมรับความจริงมากขึ้น
4) หลังจากผู้ประสบภาวะวิกฤตยอมรับความจริงมีอารมณ์สงบลง อาจมีการหดหู่ ท้อแท้ ไม่มีกำลังใจ อาจเข้าสู่อาการภาวะซึมเศร้าได้
c. ประเมินความต้องการทางสังคม
a. ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
a. การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise) เพื่อให้เกิดความผ่อนคลายทางอารมณ์
ลดอาการใจสั่น หายใจถี่แรง
b. Touching skill (การสัมผัส) การสัมผัสทางกาย เชNน แตะบNา แตะมือ บีบนวดเบาๆ โดยคำนึงถึงความเหมาะสม เช่น เพศ วัย สังคมและวัฒนธรรม การสัมผัสจะทำให้ผู้ประสบเหตุการณ]รุนแรง รู้สึกอบอุ่นใจ รู้สึกปลอดภัยมีที่พึ่งพา
c. ทักษะการ Grounding การใช้การ Grounding คือ การช่วยให้ผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตที่มีอารมณ์ท่วมทัน (overwhelmed feeling) กลับมาอยู่กับความเป็นจริงโดยเพิ่มปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม รอบตัวเป็นเทคนิคที่ง่ายและรวดเร็ว
d. การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
e. การลดความเจ็บปวดทางใจ
2) การสะท้อนความรู้สึก
3) การเงียบ
1) การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
4) การทวนซ้ำ
f. การเสริมสร้างทักษะ การเรียนรู้ การเสริมสร้าง Coping skills สามารถช่วยลดความกังวลปฏิกิริยาทีเป็นทุกข์อืนๆ
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ โดยไต่ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการช่วยเหลือที่จำเป็นและเร่งด่วน
ต.2 เติมเต็มความรู้ ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด และผลกระทบทางจิตใจ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งบอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆ เพิ่มเติม ควรมีการพูดคุยวางแผนร่วมกันระหว่างผู้ให้การช่วยเหลือกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ เปfนระยะการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงทีจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ - 2 สัปดาห์)
a. ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะมีการตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรม มีพลังอย่างมากเพื่อให้รอดชีวิต เกิดความเครียด หวาดผวา หวาดกลัว ช็อก วิตกกังวล สับสน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีผู้คนจำนวนมากเข้ามาให้การช่วยเหลืออย่างไม่มีระบบ/ระเบียบการช่วยเหลือจะมุ่งให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน เช่น ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องนุ่งห่มของใช้ที่จำเป็น เป็นต้น
**ซึ่งระยะนี้เป็นระยะที่สำคัญต้องให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA) และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
b. ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์) ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤต ทั้งผู้สูญเสียหรือผู้รอดชีวิตจะมองโลกในแง่ดี การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา ผู้ประสบภาวะวิกฤตเกิดกำลังใจว่า ครอบครัวและชุมชนจะสามารถฟื้นตัวได้ระยะนี้สามารถสำรวจหาข้อมูลของสถานการณ์ และความต้องการของ ผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ชัดเจนมากขึ้นมีการจัดลำดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนและ ต่อเนื่อง การดูแลช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายจะพิจารณาตาม ความรุนแรง 6 กลุ่ม กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวชหรือใช้สารเสพติด กลุ่มผู้ได่รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต กลุ่มผู้สูงอายุและเด็กกลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง และกลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต โดยมีขั้นตอน ดังน
3) สำรวจความต1องการชNวยเหลือทั้งด1านรNางกายและจิตใจ และการให1การชNวยเหลือเยียวยา
จิตใจ โดยใช1 วิธีให1การปฐมพยาบาลด1านจิตใจ (PFA) สร1างสัมพันธภาพกับผู1ประสบภาวะวิกฤต
4) กรณีพบความเสี่ยงตNอการเกิดป+ญหาสุขภาพจิต ให1จัดทำทะเบียนกลุNมเสี่ยงและวางแผนการ
ติดตามตNอเนื่อง
2) คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตโดยใช้เวชระเบียนสำหรับผู้ประสบภาวะ
วิกฤต/ภัยพิบัติ (ผู้ใหญ่และเด็ก) และให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
5) สรุปรายงานสถานการณ]เบื้องต1นพร1อมทะเบียนกลุNมเสี่ยง
1) เมื่อเกิดสถานการณ]วิกฤต ทีม MCATT เข1าพื้นที่ให1การชNวยเหลือผู1ประสบภาวะวิกฤตใน
พื้นที่เสี่ยง โดยลงพื้นที่รNวมกับทีมให1การชNวยเหลือทางกาย