Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, นางสาวสุทธิตา…
3.8การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
1.ระยะเตรียมการ
ทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจPsychological First Aid : PFA
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤตCrisis Intervention่
1 เรื่องการใช้แบบประเมิน/ แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตทั้งเด็กและผู้ใหญ่
2.ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน(ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ-2สัปดาห์)
a.ระยะวิกฤต (ภายใน72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
ระยะนี้ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะมีการตื่นตัวทาง สรีระและพฤติกรรม มีพลังอย่างมากเพื่อให้รอดชีวิต เกิดความเครียด หวาดผวา
หวาดกลัว ช็อก วิตกกังวล
b.ระยะฉุกเฉิน72( ชั่วโมง-2 สัปดาห์)
มองโลกในแง่ดี การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา
ความรุนแรง 6 กลุ่ม
กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน
กลุ่มผู้ประวัติการรักษาทางจิตเวชหรือใช้สารเสพติด
กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต
กลุ่มผู้สูง
กลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง
และกลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
1.เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤตMCATTทีม เข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤตในพื้นที่เสี่ยง โดยลงพื้นที่ร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกาย
2.คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง
3.สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
4.กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการให้
ติดตามต่อเนื่อง
5.สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ Psychological first Aid: PFA ด้วยหลักการ EASE
1.วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับ
ผลกระทบEngagement:E
a.การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรมสิ่งที่ต้องสังเกตคือ
b.การสร้างสัมพันธภาพ
c.การสื่อสาร
2.วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบAssessment:( A)
a.ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
b.การประเมินสภาพจิต
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะช็อกและปฏิเสธ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต้อรอง
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ
การประเมินภาวะฆ่าตัวตการปฐมพยาบาลทางจิตใจต้องระมัดระวัง
3.วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะSkills:S
a.การฝึกกำหนดลมหายใจ(Breathing exercise)
b.Touching skill (การสัมผัส)
c.ทักษะการGrounding
d.การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
e.การลดความเจ็บปวดทางใจ
1.การฟังอย่างใส่ใจActive( Listening)
2.การสะท้อนความรู้สึก
3.การเงียบ
4.การทวนซ้ำ
4.วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็นEducation
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
นางสาวสุทธิตา ติ๊บปะละวงศ์ 6001210996 เลขที่ 43 SecB