Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, นางสาวกมลพร ปันทการ…
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
ปฏิกิริยาของผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนเเรง
ด้านปฏิกิริยา/การแสดงออก
ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ เฉยเมย แยกตัวออกจากสังคม หวาดระแวง
กวาดตามองไปมาบ่อยๆ หันเข้าหาสุราของมึนเมาและยาเสพติดมากขึ้น
นอนไม่หลับ หลับๆตื่นๆ ฝันร้าย ตกใจง่าย
ด้านอารมณ์
ช็อค ไม่ยอมรับในสิ่งที่เห็น วิตกกังวล กลัว
เศร้า โกรธ ต้องการแก้แค้น ฉุนเฉียวง่าย
โทษตัวเองและผู้อื่น อารมณ์แกว่ง ไปแกว่งมา คาดเดาไม่ได้
ด้านร่างกาย
อ่อนเพลีย ปวดท้องและคลื่นไส้อาเจียน ความอยากอาหารไม่คงที่
หน้ามืด เวียนศีระษะ รู้สึกร้อน/หนาว รู้สึกตีบแน่นในลำคอ
อาการกำเริบหนักชึ้น ทำให้สุขภาพทรุดโทรมหนัก
ด้านการรับรู้
สับสน มึนงง ไม่มีสมาธิ มีปัญหาด้านความจํา การตัดสินใจ
ภาพทรงจําผ่านเข้ามาแบบวูบวาบ อาการเหล่านี้เป็นเรื่องปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญ
โดยจะเกิดขึ้นและลดลงจนหายไปภายใน 1 เดือน ถ้าหากอาการเหล่านี้ยังคงอยู่ ต้องพบผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตใจ
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต
Anger
ทําร้ายตนเองหรือขว้างของรอบตัว กล่าวโทษแก่บุคคลอื่น
บางครั้งผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตอาจมีอารมณ์โกรธ แต่ไม่แสดงออกอย่า งเปิดเผย
ตะโกนด่า กระวนกระวายเดินไปมา
Bargaining
เพื่อให้ได้ในสิ่งที่ต้องการซึ่ง เป็นสิ่งที่ไม่สามารถตอบสนองให้ได้จริงในเวลานั้น
โดยแสดงออกในคําพูดทํานองเป็นลักษณะหนึ่ง ของการหลอกตัวเอง
พูดคาดคั้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พูดรุก เร้าขอให้ช่วย ขอเข้าไปดูญาติ
Shock&Denial
ไม่สามารถเชื่อมโยงความคิดการรับรู้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน
ควบคุมตนเองไม่ได้มีอาการทางกาย ใจสั่น มือสั่น ตัวสั่น หายใจถี่แรง
มึนงง สับสน หลงลืม จําอะไรไม่ได้ ความคิดแตกกระจาย
Depression
ร้องไห้เสียใจ ปากสั่่น ไม่พูดจา หมดเรี่ยวแรง เป็นลม
อาการเศร้ามักปรากฏร่วมกับการรู้สึกผิด และโทษตัวเอง
อารมณ์ที่พบเห็นได้ง่ายและพบบ่อย
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต
ด้านร่างกาย
เนื่องจากมีอาการนอนไม่หลับที่เกิดจากการฝัน ร้ายกลางดึกเกี่ยวกับเหตุก ารณ์รุนแรงที่เกิดขึ้น
ร่างกายอ่อนแอ การพักผ่อนไม่เพียงพอ
รวมทั้งภาพความสูญเสียของตนเอง ตื่นนอนกลางดึก หลับๆ ตื่นๆ
ด้านพฤติกรรม
ปฏิเสธการรับรู้เรื่องราวต่างๆ ลักขโมยหรือก่ออาชญากรรมในผู้ที่รู้สึกว่า ไม่ได้รับความยุติธรรมหรือผู้ที่ได้รับการดูแลไม่ทั่วถึง
การขาดปัจจัย 4 การติดยาหรือสารเสพติดเพื่อแก้ปัญหาและต้องการหลีกเลี่ยงการเผชิญความรู้สึกด้านลบของตนเอง
ไม่สนใจดูแลตนเองและสิ่งแวดล้อม แยกตัวออกจากสังคม
ด้านจิตใจ
โรคเครียดเฉียบพลัน
โรคเครียดหลังเหตุการณ์
Flashbacks
โรคซึมเศร้า
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
ทีมระดับอำเภอ
จิตแพทย์/แพทย์ พยาบาลที รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวช
นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข
เจ้าหน้าทีทีเกียวข้อง เช่น ตํารวจ ทหาร เจ้าหน้าที เวชกิจฉุกเฉิน ฯลฯ
ทีมระดับจังหวัด
นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์
นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร และเจ้าหน้าทีทีเกียวข้อง
จิตแพทย์ พยาบาล จิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก
ทีมระดับตำบล
รพ.สต. อสม. เจ้าหน้าที มูลนิธิ ตัว แทนจาก อปท. แกนนําชุมชน
กํานัน/ผู้ใหญ่บ ้าน และเจ้าหน้าทีที่เกียวข้อง
ผอ.รพ.สต. และ ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต
ให้การสนับสนุนทีม MCATT แก่เครือข่ายดูแลผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติกลุ่มเสียงยุ่งยาก
ถ่ายทอดความรู้ในเรื องการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต
เป็นทีปรึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ทีม MCATT ในพืนที่
รายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อนำเสนอ War room กระทรวงสาธารณสุข
ติดตามการดําเนินงานวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต(ภายใน 72 ชม. แรกหลังเกิดเหตุ)
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA)
มีผู้คนจํานวนมากเข้ามาให้การช่วยเหลืออย่างไม่มีระบบ/ระเบียบ
ให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะมีการตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรมมีพลังอย่างมากเพื่อให้รอดชีวิต
ระยะฉุกเฉิน(72 ชม.- 2 wks)
ทราบความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ชัดเจนมากขึ้น
ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในแ่ต่ละวัย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตทั้งผู้สูญเสียหรือผู้รอดชีวิตจะมองโลกในแง่ดี
วางแผนในการช่วยเหลือที่ถูกต้องเหมาะสม
ความรุนแรง 6 กลุ่ม
กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต
กลุ่มผู้สูงอายุและเด็ก
กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวชหรือใช้สารเสพติด
กลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง
กลุุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน
กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
ระยะหลังได้รับผลกระทบ 2wks-3M
ติดตามและส่งข้อมูลของผู้ประสบภาวะวิกฤต
กรณีผู้ประสบภาวะวิกฤตไม่มีความรุนแรงทางด้านสุขภาพจิตให้PEA
ต้องปฏิบัติงานให้ทันกับเหตการณ์กับสภาพปัญหาที่เปลี่ยนไป กำหนดกลุ่มเสี่ยงที่ชัดเจน
ให้ความรู้แก่ชุมชนและสนับสนุนส่งเสริมให้ชุมชนช่วยเหลือและดูแลตัวเอง
เริ่มเผชิญกับความเป็นจริงมากขึ้น พละกำลังเริ่มถดถอย อ่อนล้า หงุดหงิด
ระยะเตรียมการ
เช่น PFA, CBT, การใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตทั้งเด็กและผู้ใหญ่
มีการซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
จัดเตรียมโครงสร้างการดําเนินงานช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงที
ระยะฟื้นฟูหลังเกิดเหตุการณ์
การเฝ้าระวังเเละค้นหาโรคระยะเริ่มเเรกเพื่อป้องกันความพิการทางจิตใจ
เน้นการส่งเสริม ป้องกัน บำบบัด ฟื้นฟูสุขภาพจิต
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ(PEA) ด้วยหลักการEASE
A: Assessment
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
บรรเทาความเจ็บปวดด้วยการให้ยา
อาหาร น้ำดื่ม
ยาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็น
การประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
ทางจิต ให้ระบายควารุ้สึก
ทางสังคม ให้ความช่วยเหลือตามความต้องการอย่างเร่งด่วน
ทางกาย เช่น อยู่ในที่สงบ คลายเสื้อผ้า
ภาวะโกรธ
ทางกาย ให้อยุ่สถานที่ปลอดภัย
ทางใจ ให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะฟังอย่างตั้งใจ
ภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้องที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ภาวะเสียใจ
Breathing Exercise
การสัมผัส (Touching)
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
การปฐมพยาบาลทางจิตใจต้องระมัดระวัง ใส่ใจทุกรายละเอียด
ประเมินหาสัญญาณของภาวะ/ความเสี่ยงต่อ การฆ่าตัวตาย
ประเมินความต้องการทางสังคม
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตร ประสานกํานันหรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการพบญาติ
S: Skill
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
Touching skill (การสัมผัส)
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซำ้
การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
การฝึกกําหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
การเสริมสร้างทักษะ
coping skill
กิจกรรมที่ควรหลีกเลี่ยง
รับประทานอาหารไม่คงที่
สุบบุหรี่ ใช้ยาเสพติด
ดื่มสุราเพื่อคลายทุกข์
ทำกิจกรรมเสี่ยงและใช้ความเร็ว
E: Engagement
การสร้างสัมพันธภาพ
ให้การช่วยเหลือควรมีท่าทีสงบนิ่ง มีการแนะนําตัวเอง
therapeutic use of self
การสื่อสาร
ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
พูดระบายความรู้สึกแต่ไม่ควรซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหว
Verbal พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ
E: Education
เติมเต็มความรู้
ติดตามต่อเนื่อง
ตรวจสอบความต้องการ
นางสาวกมลพร ปันทการ 6001211283 secB เลขที่58