Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury) นางสาวจิราพร บุญชิต เลขที่ 83 ห้อง…
การบาดเจ็บจากการคลอด
(Birth injury)
นางสาวจิราพร บุญชิต
เลขที่ 83 ห้อง ข
ปัจจัยเสี่ยง
ทารกมีขนาดใหญ๋
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ภาวะอ้วนของหญิงตั้งครรภ์
การทำสูติศาสตร์หัตถการเพื่อช่วยคลอด
การผ่าตัดคลอด
ชนิดของการบาดเจ็บจากคลอด
มี 6 ประเภท
การบาดเจ็บของ soft tissue
subcutaneous of necrosis
เนื้อเยื่อไขมันขาดเลือดไปเลี้ยง
พบบ่อยไหล่และก้น
บาดแผลฉีกขาด
จากการผ่าคลอดฉุกเฉิน
พบบ่อยที่ส่วนนำ
Bruising and petechiae
ส่วนนำมีลักษณะบวมช้ำและมีจุดเลือดออก
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
(cranial injury)
2.1 Caput succedaneum
สาเหตุ
จากศีรษะของทารกถูกกดขณะคลอด
จากการคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ถูกบีบรัดโดยปากมดลูกเป็นเวลานาน
การคั่งของน้ำบริเวณใต้ชั้นผิวหนังกะโหลกศีรษะ
การบวมเหนือ periostreum
ส่วนที่บวมอาจข้าม suture lines ได้
อาการและอาการแสดง
รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกศีรษะ
(suture lines)
พบได้ทันทีตั้งแต่แรกคลอด
คลำขอบได้ไม่ชัดเจน
ก้อนจะค่อยๆ เล็กลงและหายไป ภายใน 36 ชั่วโมง
หรือ 2-3 วัน
ใช้นิ้วกดจะเป็นรอยบุ๋มภายหลังปล่อยนิ้วออก
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่ต้องรักษา ก้อนจะหายไปเอง ใน 2-3 วัน
หรือ 3-4 สัปดาห์ แล้วแต่ขนาดก้อน
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น
2.3 Subgaleal hemorrhage
อาการและอาการแสดง
รอยบวมขัามรอยต่อส่วนกลางศีรษะ
มีลักษณะนุ่ม
การดูแลรักษาพยาบาล
ไม่มีการรักษาเฉพาะ
สาเหตุ
มีเลือดออกคั่งอยูู่ใน subgaleal space
ระหว่าง periostreum ของกะโหลกศีรษะกับ aponeurosis จากการฉีกขาดของเส้นเลือด
2.4 เลือดออกในสมอง
(intracranial hemorrhage)
Subarachnoid hemorrhage
เลือดออกใต้ชั้น arachnoid
พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด
Subdural hemorrhage
เลือดออกใต้ชั้นดูรา
พบในคลอดครบกำหนด
จากใช้เครื่องมือช่วยคลอด F/E, V/E
มีอาการทางระบบประสาทตั้งแต่แรกเกิด
ซึม อุณหภูมิกายต่ำ
epidural hemorrhage
เลือดออกเหนือชั้นดูรา
จากใช้เครื่องมือช่วยคลอด F/E, V/E
Intraventricular hemorrhage
(IVH)
เกิด 72 ชม.หลังคลอด
เกิดจากขาดเลือด ขาดออกซิเจนรุนแรง
อาการและอาการแสดง
ซึม, ดูดนมลดลง, Moro reflexลดลง หายใจผิดปกติ
2.5 กะโหลกศีรษะแตก
จากการใช้เครื่องมือช่วย มักพบร่วม cephalhematoma
2.2 Cephalohematoma
การดูแลรักษาพยาบาล
หายไปได้เองในระยะเวลา 2-3 สัปดาห์หรือบางรายใน 2 เดือน
สังเกตลักษณะ ขนาด การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ให้ทารกนอนตะแคงตรงข้ามกับก้อนโน
สังเกตอาการซีด
อธิบายให้บิดามารดาเข้าใจปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น
และไม่ให้ทายา ยานวดหรือเจาะเลือดออก
สาเหตุ
จากการใช้เครื่องช่วยทำคลอด มีการฉีกขาดของหลอดเลือดใต้ชั้น periostreum พบบ่อยบริเวณกระดูก parietal และ occipital bone
อาการและอาการแสดง
ก้อนอยู่กระดูกชิ้นเดียว ไม่ข้า suture lines
ถ้าเลือดออกมากอาจทำให้ทารกซีด ตัวเหลืองได้
พบก้อนนูนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว
คลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกไหปลาร้าหัก
กระดูกต้นแขนหัก
กระดูกต้นขาหัก ทดสอบโดย Monro reflex
การเคลื่อนหลุดของข้อต่อ อาจเกิดจากภาวะ oligohydramios
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid
3.การบาดเจ็บของระบบประสาท
เส้นประสาทไขสันหลัง จากการถูกดึงรั้ง
เส้นประสาทใบหน้า เกิดจาก F/E มีหนังตาปิดไม่สนิท
หายเองใน 2-3 วัน
Phrenic nerve จะมีอาการหายใจลำบาก พบตั้งแต่แรกคลอด
เส้นประสาท Brachial plexus
Erb หรือ Duchenne paralysis
มีความผิดปกติที่ c5 c6
อยู่ท่าแขนเหยียดตรง หมุนเข้าด้านใน ข้อศอกเหยียด
ข้อมือและนิ้วมืองอ
klumpke paralysis บาดเจ็บที่ C8
ทำให้มือข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
total brachial plexus paralysis
มือและแขนของทารกจะอ่อนแรง
5.การบาดเจ็บของอวัยวะในช่องท้อง
พบบ่อยคือ ตับแตก
ปัจจัยเสี่ยงคือ คลอดท่าก้อน ทารกมีขนาดใหญ่
6.การบาดเจ็บบริเวณใบหน้า
จมูก อาจทำให้หายใจลำบากจาการถูกกด
ดวงตา
หนังตาบวมหายใน 1-5 วัน
subconjunctival hemorrhageหายใน 1-2 สัปดาห์
การแตกของกระดูกรอบดวงตา
hyphema